รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม: 50270000-3262

คืบหน้าล่าสุด : ร้อยละ 80

ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม พิมพ์ PDF

รหัสโครงการ50270000-3262
ปี2566
ชื่อโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย
Policy ID30
Branch ID0000
Kpi ID5027-6532
งบฯ ที่ได้รับ (บาท)92,800
งบฯ ที่ใช้ไป (บาท)74,827
คืบหน้าล่าสุด80
หน่วยงานสำนักงานเขตลาดพร้าว
Start Date2023-10-01 00:00:00.000
Finish Date2024-09-30 00:00:00.000
หลักการและเหตุผลกรุงเทพมหานคร ได้กำหนดทิศทางตามแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ระยะ 20 ปี ระยะที่ 3 (พ.ศ.2566-2570) ด้านที่ 1 มหานครปลอดภัย มิติที่ 1.6 ปลอดโรคคนเมือง อาหารปลอดภัย เป้าหมายที่ 1.6.5 ประชาชนบริโภคอาหารที่มีความปลอดภัย ปราศจากเชื้อโรคและสารปนเปื้อนที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ สอดคล้องกับแผนพัฒนาสำนักอนามัย ยุทธศาสตร์ที่ 1 การรณรงค์สร้างความรู้ ความตระหนักในประเด็นเชิงสุขภาพ ตามสถานการณ์และบริบทมหานครให้กับประชาชนในวงกว้าง พร้อมยกเป็นประเด็นสุขภาพ
ระดับมหานคร กรุงเทพมหานครจึงได้มีการออกข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครเพื่อควบคุม และกำหนดหลักสูตรอบรมด้านสุขลักษณะพื้นฐาน สำหรับผู้ค้าอาหาร กำหนดมาตรการในการตรวจสอบ แนะนำ การกำหนดหลักสูตรอบรม ด้านการสุขาภิบาลอาหาร ตลอดจนการมอบป้ายรับรองมาตรฐานอาหารปลอดภัย ของกรุงเทพมหานคร ให้กับผู้ค้าที่ผ่านเกณฑ์ที่กรุงเทพมหานครกำหนด ซึ่งพบว่าผู้ประกอบการร้านอาหารสามารถพัฒนาและปรับปรุงมาตรฐานเป็นจำนวนมาก แต่ก็ยังพบว่าผู้ประกอบการบางรายยังไม่ทราบกฎหมายและเล็งเห็นความสำคัญของการพัฒนาปรับปรุงด้านสุขาภิบาลอาหาร ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินการตามนโยบายของกรุงเทพมหานครในเรื่องอาหารปลอดภัยภายใต้กรอบแผนยุทธศาสตร์กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย บรรลุวัตถุประสงค์และดำเนินการไปสู่เป้าหมายเขตอาหารปลอดภัย
สำนักงานเขตลาดพร้าว จึงถือเป็นนโยบายที่สำคัญที่จะคุ้มครองผู้บริโภค โดยมีเป้าประสงค์ให้กับประชาชนกรุงเทพมหานคร มีความเชื่อมั่นในความปลอดภัยของอาหารที่รับประทาน เพื่อสร้างเสริมสุขภาพป้องกันและควบคุมโรคโดยดำเนินการตามภารกิจ 4 ประการ ได้แก่ การตรวจวิเคราะห์การปนเปื้อนเชื้อโรคและสารเคมีในอาหารและน้ำ การจัดอบรมผู้ประกอบปรุง ผู้สัมผัสอาหาร และอาสาสมัครอาหารปลอดภัยการสร้างเครือข่ายอาหารปลอดภัย
ดังนั้น เพื่อให้การดำเนินการตามนโยบายของกรุงเทพมหานครในเรื่องอาหารปลอดภัยภายใต้กรอบแผนยุทธศาสตร์กรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย บรรลุวัตถุประสงค์ ดำเนินการไปสู่เป้าหมายเขตอาหารปลอดภัย สำนักงานเขตลาดพร้าวจึงได้จัดทำโครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัยขึ้น
วัตถุประสงค์2.1 เพื่อให้สถานประกอบการผ่านเกณฑ์มาตรฐาน สามารถรับป้ายมาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร
2.2 เพื่อกระตุ้นให้ผู้ประกอบการเกิดจิตสำนึกในการประกอบปรุงและจำหน่ายอาหาร
ที่สะอาด ปลอดภัย มีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค
2.3 เพื่อให้ผู้บริโภคได้รับทราบข้อมูลข่าวสาร และมีความรู้ ความเข้าใจ มีทางเลือก
ในการซื้ออาหารที่ปลอดภัยบริโภค
2.4 เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมขององค์กรทุกภาคส่วน เช่น ภาคเอกชน หน่วยงาน/
สถาบันต่างๆ ในการดำเนินการตามโครงการฯ ในรูปแบบและโอกาสต่างๆ
เป้าหมาย3.1 ร้อยละความสำเร็จในการส่งเสริมให้สถานประกอบการอาหารมีการพัฒนาผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัยของกรุงเทพมหานคร ระดับดี ร้อยละ 100
3.2 ร้อยละของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย
ของกรุงเทพมหานคร ระดับดีมาก มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service) ร้อยละ 20
3.3 ร้อยละของสถานประกอบการอาหารที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานอาหารปลอดภัย
ของกรุงเทพมหานคร ระดับดีเลิศ มีการบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (Green Service Plus) ร้อยละ 10
ผู้รับผิดชอบฝ่ายสิ่งแวดล้อมและสุขาภิบาล
ผู้ตรวจประเมินขนิษฐา ยมแก้ว
หมายเหตุ(ไม่ได้ตั้ง)
นโยบาย ผว.
ค่าน้ำหนัก1
เป้าหมายโครงการ100 ร้อยละ
ผลการดำเนินการ80 ร้อยละ
หน่วยนับร้อยละ
อธิบายรายละเอียดความคืบหน้า
เป้าหมาย
ผลงานเดือนที่ 180
ผลงานเดือนที่ 180
ผลงานเดือนที่ 280
ผลงานเดือนที่ 380
ผลงานเดือนที่ 180
ผลงานเดือนที่ 480
ผลงานเดือนที่ 580
ผลงานเดือนที่ 6
ผลงานเดือนที่ 7
ผลงานเดือนที่ 8
ผลงานเดือนที่ 6
ผลงานเดือนที่ 6
ผลงานเดือนที่ 9
ผลงานเดือนที่ 10
ผลงานเดือนที่ 11
ผลงานเดือนที่ 12

ประวัติการปรับปรุงข้อมูล

วันที่ เวลา ชื่อผู้ใช้ กระทำ สอดคล้องตามนโยบาย เริ่มต้น สิ้นสุด เป้าหมาย ผลการดำเนินการ หน่วยนับ
ความคืบหน้าล่าสุด
วันที่รายงาน ความคืบหน้า สถานะโครงการ ปัญหาอปสรรค รายละเอียด
2023-02-17 70.0 1 ไม่มี 17/02/2566 : การดำเนินการตรวจคุณภาพอาหาร - ตรวจร้านอาหารจำนวน 33 แห่ง ตรวจคุณภาพอาหารทั้งหมด 252 ตัวอย่าง การดำเนินการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย - ค่าอาหารทำการนอกเวลา 3,000.- บาท - ค่าจัดซื้อตัวอย่างอาหาร 2,580.- บาท
2023-01-18 63.0 1 -ไม่มี -ไม่มี -ไม่มี -ไม่มี การดำเนินการตรวจคุณภาพอาหาร - เดือนตุลาคม 2565 ตรวจร้านอาหารจำนวน 19 แห่ง ตรวจคุณภาพอาหารทั้งหมด 282 ตัวอย่าง - เดือนพฤศจิกายน 2565 ตรวจร้านอาหารจำนวน 57 แห่ง ตรวจคุณภาพอาหารทั้งหมด 667 ตัวอย่าง - เดือนธันวาคม 2565 ตรวจร้านอาหารจำนวน 37 แห่ง ตรวจคุณภาพอาหารทั้งหมด 424 ตัวอย่าง - เดือนมกราคม 2566 ตรวจร้านอาหารจำนวน 31 แห่ง ตรวจคุณภาพอาหารทั้งหมด 294 ตัวอย่าง การดำเนินการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย - เดือนพฤศจิกายน 2565 : ค่าตอบแทนบุคลากรทางด้านการแพทย์และสาธารณสุข 19,560.- บาท ค่าอาหารทำการนอกเวลา 2,000.- บาท ค่าจัดซื้อตัวอย่างอาหาร 3,005.- บาท - เดือนธันวาคม 2565 : ค่าอาหารทำการนอกเวลา 9,000.- บาท ค่าจัดซื้อตัวอย่างอาหาร 3,255.- บาท - เดือนมกราคม 2566 : ค่าอาหารทำการนอกเวลา 9,000.- บาท ค่าจัดซื้อตัวอย่างอาหาร 3,140.- บาท ค่าดำเนินกิจกรรมพัฒนาตลาดได้มาตราฐานอาหารปลอดภัย 10,000.- บาท
2023-03-22 50.0 1 จำนวนบุคลากรไม่เพียงพอ 22/03/2566 : การดำเนินการตรวจคุณภาพอาหาร - ตรวจร้านอาหารจำนวน 27 แห่ง ตรวจคุณภาพอาหารทั้งหมด 195 ตัวอย่าง การดำเนินการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย - ค่าจัดซื้อตัวอย่างอาหาร 3,670.- บาท
2023-04-21 60.0 1 ไม่มี 21/04/2566 : การดำเนินการตรวจคุณภาพอาหาร - ตรวจร้านอาหารจำนวน 20 แห่ง ตรวจคุณภาพอาหารทั้งหมด 264 ตัวอย่าง การดำเนินการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 โครงการกรุงเทพฯ เมืองอาหารปลอดภัย - ค่าจัดซื้อตัวอย่างอาหาร 3,585.- บาท