รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม: 08000000-7133

คืบหน้าล่าสุด : ร้อยละ 80

ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม พิมพ์ PDF

รหัสโครงการ08000000-7133
ปี2566
ชื่อโครงการกิจกรรมดูแลช่วยเหลือเยียวยาผู้ประสบภัย/เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานทั้งทางกายและจิตใจ
Policy ID37
Branch ID1707
Kpi ID0800-6787
งบฯ ที่ได้รับ (บาท)0
งบฯ ที่ใช้ไป (บาท)0
คืบหน้าล่าสุด80
หน่วยงานสำนักอนามัย
Start Date2023-10-01 00:00:00.000
Finish Date2024-09-30 00:00:00.000
หลักการและเหตุผลในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาประเทศไทยได้เผชิญกับภัยธรรมชาติและภัยที่เกิดจากน้ำมือของมนุษย์ หลายรูปแบบ และมีความรุนแรงบ่อยครั้งขึ้น ส่งผลกระทบต่อประชากรจำนวนมาก โดยเฉพาะในกรุงเทพมหานคร ที่มีประชากรอาศัยอยู่หนาแน่น จากข้อมูลสถิติการเกิดสาธารณภัยในรอบ 5 ปี (พ.ศ. 2553 – 2557) พบภัยจากการคมนาคมขนส่ง จำนวน 160,286 ครั้ง บาดเจ็บ 18,566 คน เสียชีวิต 1,826 คน อัคคีภัย จำนวน 5,733 ครั้ง บาดเจ็บ 507 คน เสียชีวิต 64 คน และภัยด้านความมั่นคง จำนวน 1,874 ครั้ง บาดเจ็บ 1,431 คน เสียชีวิต 96 คน ตามลำดับ (แผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกรุงเทพมหานคร ปี 2558) โดยภัยพิบัติที่เกิดขึ้น ล้วนส่งผลต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน ซึ่งเป็นสิ่งที่นำไปสู่ปัญหาสุขภาพกาย เช่น บาดเจ็บ การเจ็บป่วย ความพิการ เป็นต้น และปัญหาสุขภาพจิต เช่น ภาวะเครียดภายหลังเหตุการณ์สะเทือนขวัญ ภาวะซึมเศร้า เป็นต้น
ศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่งของสำนักอนามัย ครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร 50 เขต ให้บริการด้านการส่งเสริมป้องกัน รักษา และฟื้นฟู สุขภาพแก่ประชาชนในพื้นที่ จัดบริการสุขภาพแบบองค์รวมทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิต โดยให้การดูแลช่วยเหลือเยียวยาทางด้านร่างกายและจิตใจ เมื่อเกิดเหตุภัยพิบัติแบ่งเป็นด้านร่างกาย มีการดูแลปฐมพยาบาลเบื้องต้น การประเมินความเจ็บป่วยทางร่างกายเพื่อประสานส่งต่อ ส่วนด้านจิตใจ ให้การช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภัย คัดกรองภาวะสุขภาพจิตเพื่อค้นหาความเสี่ยงและติดตามดูแลช่วยเหลือต่อเนื่อง เพื่อลดและยับยั้งผลกระทบทางสุขภาพกายและจิตใจเมื่อเกิดเหตุภัยพิบัติในระยะยาว
วัตถุประสงค์เพื่อลดและยับยั้งผลกระทบทางสุขภาพกายและจิตใจเมื่อเกิดเหตุภัยพิบัติ
เป้าหมายผู้ประสบภัยและผู้ปฏิบัติงานจากเหตุการณ์ภัยพิบัติในพื้นที่ของศูนย์บริการสาธารณสุข
ผู้รับผิดชอบกองสร้างเสริมสุขภาพ
ผู้ตรวจประเมินกยล.สยป.1547
หมายเหตุ(ไม่ได้ตั้ง)
นโยบาย ผว.
ค่าน้ำหนัก1
เป้าหมายโครงการ100 ร้อยละ
ผลการดำเนินการ80 ร้อยละ
หน่วยนับร้อยละ
อธิบายรายละเอียดความคืบหน้า
เป้าหมาย
ผลงานเดือนที่ 180
ผลงานเดือนที่ 180
ผลงานเดือนที่ 280
ผลงานเดือนที่ 380
ผลงานเดือนที่ 180
ผลงานเดือนที่ 480
ผลงานเดือนที่ 580
ผลงานเดือนที่ 6
ผลงานเดือนที่ 7
ผลงานเดือนที่ 8
ผลงานเดือนที่ 6
ผลงานเดือนที่ 6
ผลงานเดือนที่ 9
ผลงานเดือนที่ 10
ผลงานเดือนที่ 11
ผลงานเดือนที่ 12

ประวัติการปรับปรุงข้อมูล

วันที่ เวลา ชื่อผู้ใช้ กระทำ สอดคล้องตามนโยบาย เริ่มต้น สิ้นสุด เป้าหมาย ผลการดำเนินการ หน่วยนับ
ความคืบหน้าล่าสุด
วันที่รายงาน ความคืบหน้า สถานะโครงการ ปัญหาอปสรรค รายละเอียด
2023-01-31 10.0 1 ไม่มี 31/01/2566 : ดำเนินการศึกษา รวบรวมข้อมูลในการจัดบริการสุขภาพแบบองค์รวมทั้งสุขภาพกายและสุขภาพจิตเมื่อเกิดเหตุภัยพิบัติ โดยให้การดูแลช่วยเหลือเยียวยาทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจแก่ผู้ประสบภัย/เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน เพื่อลดและยับยั้งผลกระทบทางสุขภาพกายและจิตใจเมื่อเกิดเหตุภัยพิบัติในระยะยาว
2023-02-15 20.0 1 ไม่มี 15/02/2566 : ดำเนินการจัดทำแนวทางการช่วยเหลือเยียวยาทางกายและจิตใจผู้ประสบภัย/เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้ศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง ใช้เป็นแนวทางการดำเนินงานเมื่อเกิดเหตุในพื้นที่เพื่อช่วยเหลือเยียวยาผู้ประสบภัย/เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ปัจจุบันมีรายงานการดูแลช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภัย จำนวน 2 แห่ง
2023-03-15 40.0 1 ไม่มี 15/03/2566 : ดำเนินการจัดทำแนวทางการช่วยเหลือเยียวยาทางกายและจิตใจผู้ประสบภัย/เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้ศูนย์บริการสาธารณสุข 69 แห่ง ใช้เป็นแนวทางการดำเนินงานเมื่อเกิดเหตุในพื้นที่เพื่อช่วยเหลือเยียวยาผู้ประสบภัย/เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน กรณีเกิดเหตุศูนย์บริการสาธารณสุขจะส่งรายงานการดูแลช่วยเหลือเยียวยาจิตใจผู้ประสบภัยมายังกองสร้างเสริมสุขภาพ
2023-04-19 60.0 1 ไม่มี 19/04/2566 : ศูนย์บริการสาธารณสุขดำเนินการตามแนวทางการช่วยเหลือเยียวยาทางกายและจิตใจผู้ประสบภัย/เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน(กรณีเกิดเหตุในพื้นที่) เพื่อช่วยเหลือเยียวยาผู้ประสบภัย/เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน กรณีเกิดเหตุศูนย์บริการสาธารณสุขจะส่งรายงานการดูแลช่วยเหลือเยียวยาจิตใจมายังกองสร้างเสริมสุขภาพ
2023-05-15 70.0 1 ไม่มี 15/05/2566 : ศูนย์บริการสาธารณสุขดำเนินการตามแนวทางการช่วยเหลือเยียวยาทางกายและจิตใจผู้ประสบภัย/เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน(กรณีเกิดเหตุในพื้นที่) เพื่อให้การดูแลช่วยเหลือเยียวยาผู้ประสบภัย/เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน กรณีเกิดเหตุในพื้นที่ศูนย์บริการสาธารณสุขจะส่งรายงานการดูแลช่วยเหลือเยียวยาจิตใจมายังกองสร้างเสริมสุขภาพ