รายละเอียดโครงการ/กิจกรรม: 08000000-7092

คืบหน้าล่าสุด : ร้อยละ 80

ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม พิมพ์ PDF

รหัสโครงการ08000000-7092
ปี2566
ชื่อโครงการโครงการการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุ ที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
Policy ID31
Branch ID1111
Kpi ID0800-6768
งบฯ ที่ได้รับ (บาท)2,774,000
งบฯ ที่ใช้ไป (บาท)82,100
คืบหน้าล่าสุด80
หน่วยงานสำนักอนามัย
Start Date2023-10-01 00:00:00.000
Finish Date2024-09-30 00:00:00.000
หลักการและเหตุผลจากสถิติในประเทศไทย ปี 2563 โดยกรมกิจการผู้สูงอายุ (31 ธันวาคม 2563) ได้รายงานว่าประเทศไทยมีประชากรผู้สูงอายุ 11,627,130 คน คิดเป็นร้อยละ 17.57 โดยพบว่า กรุงเทพมหานครเป็นจังหวัดที่มีผู้สูงอายุอาศัยอยู่จานวนมากถึง 1,108,219 คน (ร้อยละ 19.83) (กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย, 2563) ประเทศไทยได้เข้าสู่การเป็นสังคมสูงอายุ (Aged Society) มาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 ประชากรที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป มีสัดส่วน 1 ใน 10 ของประชากรทั้งหมด ปัจจุบันประเทศไทยเป็น “สังคมสูงวัยโดยสมบูรณ์” (Complete Aged Society) ตั้งแต่ปี 2564 เป็นต้นมา และจะเป็น “สังคมสูงวัยระดับสุดยอด” (Super Aged Society) ภายในปี พ.ศ. 2578 ประมาณการว่า ประเทศไทยจะมีประชากรสูงอายุเพิ่มขึ้นเป็น 16 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 25 (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2561) การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะส่งผลต่อสังคมไทยอย่างมากในอนาคต เนื่องจากกลุ่มผู้สูงอายุจะเริ่มมีภาวะเสี่ยงด้านสุขภาพ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และความทรงจา โดยเฉพาะในเรื่องของความทรงจา ซึ่งนับว่ามีความจาเป็นที่จะต้องได้รับการคัดกรองเฝูาระวังอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งความเสี่ยงด้านสุขภาพ ดังที่กล่าวมา จากความเสื่อมของสภาพร่างกายตามวัยทาให้ผู้สูงอายุเกิดการเจ็บปุวยและมีโรคประจาตัวต้องเข้ารับการรักษาตัวในโรงพยาบาล บางรายต้องใช้ระยะเวลานานในการพักรักษาตัวอยู่โรงพยาบาล จึงมีเปูาหมายต้องการจะช่วยลดปัญหาความแออัดของผู้ปุวยที่พักรักษาตัวในโรงพยาบาล เพื่อให้มีเตียงว่างสาหรับรองรับผู้ปุวยที่จาเป็นรายอื่น ส่งผลให้ผู้ปุวยที่มีอาการดีขึ้นจะถูกผลักดันให้กลับมาดูแลต่อที่บ้าน จากสถานการณ์เหล่านี้ล้วนส่งผลกระทบต่อสังคมโดยรวมทั้งสิ้น ทั้งในแง่การเมือง การปกครอง สังคม เศรษฐกิจ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านเศรษฐกิจ ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับงบประมาณของภาครัฐที่มีความจาเป็น และเป็นปัจจัยที่สาคัญยิ่งต่อการวางนโยบายแห่งชาติ เพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น การเตรียมความพร้อม รับมือต่อการเปลี่ยนแปลงของประชากรสูงอายุในประเทศ ที่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว รวมทั้งปัญหา โรคเรื้อรัง ยังเป็นประเด็นสาคัญที่ส่งผลทาให้ผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่อยู่ในภาวะพึ่งพิงในกลุ่มติดบ้านติดเตียงมีความต้องการการดูแลจานวนมาก
จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น กองการพยาบาลสาธารณสุข สานักอนามัย จึงได้ริเริ่มจัดทาการดูแลผู้ปุวยในรูปแบบการพยาบาลที่บ้านดุจโรงพยาบาล (Home ward) โดยเริ่มต้นจากการจัดทาโครงการ การพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน โดยในปีงบประมาณ 2559 – 2565 สานักอนามัย กรุงเทพมหานคร ผลิตแกนนาผู้ดูแล (Caregiver) อย่างต่อเนื่อง ซึ่งยังไม่เพียงพอเมื่อเทียบกับจานวนผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ซึ่งได้รับการประเมินความพึงพอใจถึงร้อยละ 95 แสดงให้เห็นว่าผู้ดูแล (Caregiver) สามารถให้การดูแลเฝูาระวัง คัดกรองภาวะผิดปกติ โดยสามารถทางานร่วมกับพยาบาลผู้จัดการสุขภาพ (Nurse Care Manager) และเป็นเครือข่ายทีมสุขภาพที่มีทักษะพื้นฐานทางการพยาบาลเบื้องต้น สามารถให้การดูแลสุขภาพผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่บ้านในลักษณะ Home ward ได้ และเมื่อเปรียบเทียบจานวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงของกรุงเทพมหานครที่มีจานวนมากขึ้น ประกอบกับจานวนผู้ดูแล (Caregiver) ที่มีจานวนน้อยไม่เพียงพอในการดูแลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลจากศูนย์ส่งต่อเพื่อการดูแลผู้ปุวยต่อเนื่องที่บ้าน ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (BMA Home Ward Referral Center) เมื่อผู้ปุวยและผู้สูงอายุ จาหน่ายออกจากโรงพยาบาลและต้องได้รับการพยาบาลต่อเนื่องที่บ้าน จะถูกส่งต่อมายังศูนย์ส่งต่อฯ จากนั้นจะส่งข้อมูลผู้ปุวยและแผนที่บ้านผ่านออนไลน์ไปยัง ศูนย์บริการสาธารณสุข
ทั้ง 69 แห่ง ตามพื้นที่รับผิดชอบครอบคลุมพื้นที่กรุงเทพมหานคร ศูนย์บริการสาธารณสุข ดาเนินการลงพื้นที่ เพื่อเยี่ยมติดตามผู้ปุวยต่อเนื่องที่บ้าน (Home Health Care) ดังนั้นการจัดอบรมผู้ดูแล (Caregiver) จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องอบรมสร้างแกนนาผู้ดูแลใหม่และสาหรับผู้ดูแล (Caregiver) ที่เคยผ่านการอบรมสร้างแกนนาปีงบประมาณ 2559 2565 มีความจาเป็นต้องเพิ่มศักยภาพการเป็นผู้ดูแลอย่างต่อเนื่อง เพื่อเตรียมความพร้อมเครือข่ายทีมสุขภาพ ในการดูแลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงในกลุ่มติดบ้านติดเตียงอีกเป็นจานวนมาก ผ่านโปรแกรม BMA Home Ward Referral ให้ได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป
วัตถุประสงค์1 เพื่อสร้างแกนนาผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้านให้มีความรู้ในการดูแลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่บ้าน
2 เพื่อฟื้นฟูผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่อง ที่บ้านให้เพิ่มพูนความรู้และทักษะในการดูแลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงที่บ้าน
3 เพื่อชี้แจงแนวทางการดาเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
4 เพื่อผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ที่ปฏิบัติงานจริงได้รับการติดตาม กากับ ดูแล
5 เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานของผู้ดูแลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
เป้าหมายกิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนาผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน กลุ่มเปูาหมาย คือ บุคคลภายนอก และบุคลากรของสานักอนามัย จานวน 150 คน เจ้าหน้าที่ดาเนินการ จานวน 20 คน รวมทั้งสิ้น 170 คน และวิทยากรวันละ 2 - 4 คน
กิจกรรมที่ 2 การอบรมฟื้นฟูผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน กลุ่มเปูาหมาย คือ ผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลที่เคยผ่านการอบรมสร้างแกนนาผู้ดูแลฯ ปี 2559 – 2565 มีผลการปฏิบัติงานดี มีความต่อเนื่อง จานวน 200 คน เจ้าหน้าที่ดาเนินการ จานวน 20 คน รวมทั้งสิ้น 220 คน และวิทยากรวันละ 1 – 4 คน
กิจกรรมที่ 3 การประชุมชี้แจงแนวทางการดาเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน กลุ่มเปูาหมาย คือ ผู้ดูแล เพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลที่เคยผ่านการอบรมสร้างแกนนาผู้ดูแลฯ ในปีงบประมาณ 2559 2566 พยาบาลวิชาชีพ บุคลากร เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องของศูนย์บริการสาธารณสุข และบุคลากรที่เกี่ยวข้องจากภาครัฐและภาคเอกชน จานวน 69 แห่ง แห่งละ 40 คน
กิจกรรมที่ 4 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ปุวยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward)
ผู้รับผิดชอบกองการพยาบาลสาธารณสุข
ผู้ตรวจประเมินกยล.สยป.1547
หมายเหตุ(ไม่ได้ตั้ง)
นโยบาย ผว.
ค่าน้ำหนัก1
เป้าหมายโครงการ100 ร้อยละ
ผลการดำเนินการ80 ร้อยละ
หน่วยนับร้อยละ
อธิบายรายละเอียดความคืบหน้า
เป้าหมาย
ผลงานเดือนที่ 180
ผลงานเดือนที่ 180
ผลงานเดือนที่ 280
ผลงานเดือนที่ 380
ผลงานเดือนที่ 180
ผลงานเดือนที่ 480
ผลงานเดือนที่ 580
ผลงานเดือนที่ 6
ผลงานเดือนที่ 7
ผลงานเดือนที่ 8
ผลงานเดือนที่ 6
ผลงานเดือนที่ 6
ผลงานเดือนที่ 9
ผลงานเดือนที่ 10
ผลงานเดือนที่ 11
ผลงานเดือนที่ 12

ประวัติการปรับปรุงข้อมูล

วันที่ เวลา ชื่อผู้ใช้ กระทำ สอดคล้องตามนโยบาย เริ่มต้น สิ้นสุด เป้าหมาย ผลการดำเนินการ หน่วยนับ
ความคืบหน้าล่าสุด
วันที่รายงาน ความคืบหน้า สถานะโครงการ ปัญหาอปสรรค รายละเอียด
2023-01-20 30.0 1 ไม่มี 20/01/2566 : อยู่ระหว่างดำเนินการกิจกรรม ดังนี้ 1. กิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน เป็นการอบรม Online ผ่านโปรแกรม ZOOM ในวันที่ 16-25 มกราคม 2566 2. กิจกรรมที่ 2 การอบรมฟื้นฟูผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน เป็นการอบรม Online ผ่านโปรแกรม ZOOM ในวันที่ 26-30 มกราคม 2566 3. กิจกรรมที่ 3 การจัดประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างรวบรวมเอกสารการประชุมจากศูนย์บริการสาธารณสุข 4. กิจกรรมที่ 4 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home ward) อยู่ระหว่างลงพื้นที่ตรวจประเมินศูนย์บริการสาธารณสุขของเดือนมกราคม 2566
2023-02-15 40.0 1 อยู่ในช่วงการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 15/02/2566 : ดำเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการฯ ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ดำเนินการ ภาคทฤษฎี อบรมแบบ Online ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ระบบ Zoom Conference จำนวน 8 วัน อบรบเมื่อวันที่ 16 - 20 และ 23 - 25 มกราคม 2566 เรียบร้อยแล้ว และอยู่ระหว่างฝึกปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข กิจกรรมที่ 2 การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ดำเนินการ อบรมแบบ Online โดยใช้ระบบทางไกลผ่านจอภาพ จำนวน 3 วัน เมื่อวันที่ 26 – 27 และ 30 มกราคม 2566 เรียบร้อยแล้ว กิจกรรมที่ 3 การประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างดำเนินการเบิกจ่ายเงิน ของเดือนธันวาคม 2565 และเดือนมกราคม 2566 กิจกรรมที่ 4 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home Ward) อยู่ระหว่างดำเนินการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา ประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2566 ตามที่กำหนดไว้
2023-03-15 60.0 1 ไม่มี 15/03/2566 : ดำเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการฯ ดังนี้ กิจกรรมที่ 1 การอบรมสร้างแกนนำผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ดำเนินการ ภาคทฤษฎี อบรมแบบ Online ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ระบบ Zoom Conference จำนวน 8 วัน และฝึกปฏิบัติ ภาคปฏิบัติ ณ ศูนย์บริการสาธารณสุข จำนวน 3 วัน เรียบร้อยแล้ว จำนวน 179 คน กิจกรรมที่ 2 การอบรมพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ดำเนินการ อบรมแบบ Online โดยใช้ระบบทางไกลผ่านจอภาพ จำนวน 3 วัน เรียบร้อยแล้ว จำนวน 200 คน กิจกรรมที่ 3 การประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างรออนุมัติการเบิกจ่ายเงิน ของเดือนธันวาคม 2565 และเดือนมกราคม 2566 กิจกรรมที่ 4 การพัฒนารูปแบบผู้ตรวจการพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน (Supervise Nurse Home Ward) อยู่ระหว่างดำเนินการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมศูนย์บริการสาธารณสุขสาขา ประจำเดือนมีนาคม 2566 ตามที่กำหนดไว้
2023-04-19 70.0 1 ไม่มี 19/04/2566 : ดำเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการฯ ดังนี้ กิจกรรมที่ 3 การประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างการรวบรวมเอกสารเบิกจ่ายเงินของไตรมาส 2
2023-05-12 75.0 1 ไม่มี 12/05/2566 : ดำเนินการจัดกิจกรรมตามโครงการฯ ดังนี้ กิจกรรมที่ 3 การประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรคของผู้ดูแลเพื่อช่วยเหลืองานพยาบาลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน อยู่ระหว่างดำเนินการจัดประชุม และรวบรวมเอกสารในไตรมาส 2 กิจกรรมที่ 5 สนับสนุนผู้ดูแลให้สามารถดูแลผู้ป่วยและผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดำเนินการจัดประชุมกำหนดรายละเอียดคุณลักษณะเรียบร้อยแล้ว