ปลอดภัยดี

ปลอดภัยทุกที่ทุกเวลา ลดจุดเสี่ยง เพิ่มความพร้อม ในการรับมือเหตุฉุกเฉิน

ข้อมูลเชิงพื้นที่ (GIS Data) ข้อมูลประกอบตัวชี้วัดพัฒนาเมือง

โครงการฯ

29

29
เทียบสัดส่วนโครงการฯ
0 %

งบประมาณที่ได้รับจัดสรรฯ

7,649,590

งบฯ ปีก่อน
7,649,590

งบประมาณที่ใช้ไปแล้ว

2,459,562

10 %
เทียบสัดส่วนฯ
0 %

รายงานข้อมูลฯ เดือนนี้

0

0
เทียบสัดส่วนฯ (เดือนก่อน)
0 %

ดำเนินการแล้วเสร็จ

3

0 %

กำลังดำเนินการ

26

0 %

ชะลอ+ยกเลิก

0

0 %

ยังไม่มีการรายงาน

0

0 %
ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม
มิติ HOST โครงการ/กิจกรรม ค่าเป้าหมาย ผลงาน หน่วยนับ % คืบหน้า งบประมาณ
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 1. (66) อ.2/2 กิจกรรมการจัดทำแผนรักษาความปลอดภัยสถานที่ของสำนักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานครในภาวะฉุกเฉิน
สํานักงานเลขานุการสภากรุงเทพมหานคร
2 30.0 ครั้ง/ปี
0
01: ปลอดภัยดี
สกก. 2. กิจกรรมกำหนดมาตรการเพื่อส่งเสริมให้เกิดความเท่าเทียมทางเพศ
สํานักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร
100 77.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
05: สิ่งแวดล้อมดี
09: บริหารจัดการดี
3. โครงการรณรงค์วินัยพลเมือง
** สำนักงานประชาสัมพันธ์ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร
100 60.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
4. กิจกรรมการผลิตและเผยแพร่สื่อประชาสัมพันธ์รณรงค์ปลูกฝังจิตสำนึก ส่งเสริมการสร้างระเบียบกวดขันวินัยจราจรอย่างเข้มงวด
** สำนักงานประชาสัมพันธ์ สํานักปลัดกรุงเทพมหานคร
6 45.0 ครั้ง
0
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 5. โครงการอบรมการป้องกันและระงับอัคคีภัย และฝึกซ้อมดับเพลิงและหนีไฟ
สำนักการแพทย์
2 50.0 ครั้ง/ปี
84,700
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 6. อบรมเชิงปฏิบัติการการป้องกันและระงับอัคคีภัยในโรงพยาบาล
สำนักการแพทย์
2 85.0 ครั้ง/ปี
109,100
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 7. อบรมเชิงปฏิบัติการและการซ้อมแผนอัคคีภัยในโรงพยาบาล
สำนักการแพทย์
2 10.0 ครั้ง/ปี
70,000
01: ปลอดภัยดี
8. กิจกรรมการจดทะเบียนสุนัข
สำนักอนามัย
50 88.0 เขต
0
01: ปลอดภัยดี
9. กิจกรรมการจัดทำฐานข้อมูลกิจการที่เกี่ยวกับสัตว์เลี้ยงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
สำนักอนามัย
50 45.0 เขต
0
01: ปลอดภัยดี
03: เศรษฐกิจดี
10. กิจกรรมผ่าตัดทำหมัน ฉีดวัคซีนป้องกัน โรคพิษสุนัขบ้า และทำสัญลักษณ์ให้กับสุนัขชุมชน
สำนักอนามัย
12 43.0 ครั้ง
0
01: ปลอดภัยดี
03: เศรษฐกิจดี
11. กิจกรรมสำรวจข้อมูลสุนัขและแมวจรจัดในชุมชน และความต้องการของชุมชนในการให้สุนัขจรจัดเป็นสุนัขชุมชน
สำนักอนามัย
12 50.0 ครั้ง
0
01: ปลอดภัยดี
03: เศรษฐกิจดี
12. โครงการควบคุมจำนวนแมวจรจัดในชุมชน พื้นที่กรุงเทพมหานคร
สำนักอนามัย
12 50.0 ครั้ง
18,594,000
01: ปลอดภัยดี
13. โครงการส่งเสริมการจัดการสารเคมีและวัตถุอันตรายในสถานประกอบการ
สำนักอนามัย
1 81.0 ระบบ
417,200
01: ปลอดภัยดี
03: เศรษฐกิจดี
14. โครงการการควบคุมการเพิ่มจำนวนสุนัขและแมวในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
สำนักอนามัย
12 66.0 ครั้ง
0
01: ปลอดภัยดี
03: เศรษฐกิจดี
15. โครงการการออกหน่วยสัตวแพทย์ ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า
สำนักอนามัย
12 97.0 ครั้ง
0
01: ปลอดภัยดี
03: เศรษฐกิจดี
09: บริหารจัดการดี
สนอ. 16. โครงการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
สำนักอนามัย
60 90.0 ร้อยละ
150,600
01: ปลอดภัยดี
03: เศรษฐกิจดี
09: บริหารจัดการดี
สนอ. 17. โครงการจัดทำสิ่งสนับสนุนการดำเนินงาน ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
สำนักอนามัย
60 50.0 ร้อยละ
388,000
01: ปลอดภัยดี
18. กิจกรรมดูแลช่วยเหลือเยียวยาผู้ประสบภัย/เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานทั้งทางกายและจิตใจ
สำนักอนามัย
100 80.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
สนย. 19. โครงการจ้างที่ปรึกษาพัฒนาระบบบริหารจัดการสินทรัพย์โครงสร้างพื้นฐานของกรุงเทพมหานคร (Bangkok - Infrastructure Asset Management System : B - AMS)
สํานักการโยธา
100 93.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
20. กิจกรรมการเปลี่ยนดวงโคมไฟฟ้าส่องสว่างสาธารณะเป็นดวงโคมไฟฟ้า LED (ตามนโยบายฯ P001 กรุงเทพฯต้องสว่าง)
สํานักการโยธา
10,000 0.0 ดวง
315,000,000
01: ปลอดภัยดี
21. กิจกรรมการสำรวจ ตรวจสอบและการแก้ไขปัญหาไฟฟ้าแสงสว่างสาธารณะดับ ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (ตามนโยบาย P001 กรุงเทพฯ ต้องสว่าง)
สํานักการโยธา
10,000 60.0 ดวง
0
01: ปลอดภัยดี
22. งานซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่างสาธารณะ ในพื้นที่เขตที่รับผิดชอบของศูนย์ก่อสร้างและบูรณะถนน 1 ส่วนก่อสร้างและบูรณะ 1
สํานักการโยธา
10,000 37.0 ดวง
0
01: ปลอดภัยดี
23. ซ่อมแซมไฟฟ้าสาธารณะ ในพื้นที่เขตที่รับผิดชอบของศูนย์ก่อสร้างและบูรณะถนน 2 ส่วนก่อสร้างและบูรณะ 1 (งปม.65)
สํานักการโยธา
10,000 58.0 ดวง
0
01: ปลอดภัยดี
24. จ้างจัดซ่อมไฟฟ้าส่องสว่างสาธารณะ ในพื้นที่เขตที่รับรับผิดชอบของศูนย์ก่อสร้างและบูรณะถนน 3 ส่วนก่อสร้างและบูรณะ 1
สํานักการโยธา
10,000 15.0 ดวง
0
01: ปลอดภัยดี
25. จ้างจัดซ่อมไฟฟ้าส่องสว่างสาธารณะ ในพื้นที่เขตที่รับผิดชอบของศูนย์ก่อสร้างและบูรณะถนน 3 ส่วนก่อสร้างและบูรณะ 2
สํานักการโยธา
10,000 14.0 ดวง
40,000,000
01: ปลอดภัยดี
26. ปรับปรุงไฟฟ้าสาธารณะถนนบางขุนเทียน - ชายทะเล จากถนนพระราม 2 ถึงซอยเทียนทะเล 30 กม.9+800 พื้นที่เขตบางขุนเทียน
สํานักการโยธา
10,000 5.0 ดวง
0
01: ปลอดภัยดี
27. ซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่างในพื้นที่สำนักการโยธา เพื่อแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียน Traffy Fondue ศูนย์เครื่องมือกล ส่วนฯ 2
สํานักการโยธา
10,000 100.0 ดวง
0
01: ปลอดภัยดี
28. นำเข้าข้อมูลอาคาร 9 ประเภท ที่จะต้องจัดให้มีการตรวจสอบอาคารในพื้นที่กลุ่มเขตกรุงเทพเหนือ กลุ่มเขตกรุงเทพกลาง กลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก กลุ่มเขตกรุงธนเหนือ และกลุ่มเขตกรุงธนใต้ เพื่อจัดทำฐานข้อมูลอาคาร
สํานักการโยธา
100 20.0 ร้อยละ
36,311,400
01: ปลอดภัยดี
06: สุขภาพดี
สนย. 29. กำหนดค่ามาตรฐานความสว่างป้ายโฆษณา
สํานักการโยธา
100 70.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
30. ซ่อมแซมไฟฟ้าสาธารณะ ในพื้นที่เขตที่รับผิดชอบของศูนย์ก่อสร้างและบูรณะ ถนน 1 ส่วนก่อสร้างและบูรณะ 2
สํานักการโยธา
10,000 60.0 ดวง
40,000,000
01: ปลอดภัยดี
31. ซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่างพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม ศูนย์เครื่องมือกล ส่วนก่อสร้างและบูรณะ 1
สํานักการโยธา
10,000 75.0 ดวง
0
01: ปลอดภัยดี
32. โครงการซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม (Traffy Fondue) ศูนย์เครื่องมือกล ส่วนก่อสร้างและบูรณะ 1
สํานักการโยธา
10,000 48.0 ดวง
0
01: ปลอดภัยดี
33. ซ่อมแซมไฟฟ้าสาธารณะ ในพื้นที่เขตที่รับผิดชอบของศูนย์ก่อสร้างและบูรณะถนน 2 ส่วนก่อสร้างและบูรณะ 2
สํานักการโยธา
10,000 68.0 ดวง
40,000,000
01: ปลอดภัยดี
34. จ้างจัดซ่อมไฟฟ้าส่องสว่างสาธารณะ ในพื้นที่รับผิดชอบสำนักงานก่อสร้างและบูรณะ สำนักการโยธา (ศูนย์เครื่องมือกล ส่วนฯ 2)
สํานักการโยธา
10,000 70.0 ดวง
0
01: ปลอดภัยดี
35. ซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่างในพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม ศูนย์เครื่องมือกล ส่วนฯ 2
สํานักการโยธา
10,000 30.0 ดวง
0
01: ปลอดภัยดี
06: สุขภาพดี
08: เรียนดี
สนท. 36. โครงการกลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ (สำนักเทศกิจ)
สํานักเทศกิจ
100 65.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
05: สิ่งแวดล้อมดี
09: บริหารจัดการดี
37. โครงการประชาสัมพันธ์การจัดระเบียบผู้ค้าหาบเร่แผงลอย และการใช้สอยพื้นที่ร่วมกัน (สำนักเทศกิจ)
สํานักเทศกิจ
100 20.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
สนท. 38. โครงการถนนปลอดภัย ปันน้ำใจ เพิ่มความสุข (สำนักเทศกิจ)
สํานักเทศกิจ
1 55.0 ระบบการตรวจสอบและรายงานผล
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
05: สิ่งแวดล้อมดี
09: บริหารจัดการดี
39. โครงการประชาสัมพันธ์การจัดระเบียบวินมอเตอร์ไซต์รับจ้าง (สำนักเทศกิจ)
สํานักเทศกิจ
100 30.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
05: สิ่งแวดล้อมดี
09: บริหารจัดการดี
40. โครงการจัดระเบียบซากยานยนต์ที่มีผู้นำมาจอดทิ้งในที่สาธารณะ (สำนักเทศกิจ)
สํานักเทศกิจ
100 70.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
05: สิ่งแวดล้อมดี
09: บริหารจัดการดี
41. โครงการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันและแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 (สำนักเทศกิจ)
สํานักเทศกิจ
100 65.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
สนท. 42. โครงการบูรณาการดำเนินงานด้านความปลอดภัยจากอาชญากรรมเชิงพื้นที่ (สำนักเทศกิจ)
สํานักเทศกิจ
50 70.0 พื้นที่เขต
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
05: สิ่งแวดล้อมดี
09: บริหารจัดการดี
43. โครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการจัดระเบียบเมือง (รณรงค์ไม่จอดหรือขับขี่รถยนต์ รถจักรยานยนต์ บนทางเท้า) (สำนักเทศกิจ)
สํานักเทศกิจ
100 70.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
44. โครงการสำรวจและประเมินพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม (สำนักเทศกิจ)
สํานักเทศกิจ
1 45.0 ระบบ
0
01: ปลอดภัยดี
06: สุขภาพดี
08: เรียนดี
สนท. 45. โครงการสายตรวจเทศกิจห่วงใยใส่ใจนักท่องเที่ยว (สำนักเทศกิจ)
สํานักเทศกิจ
100 5.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
05: สิ่งแวดล้อมดี
09: บริหารจัดการดี
46. โครงการกวดขัน ทิ้ง จับ ปรับ ผู้ทิ้งขยะในที่สาธารณะ (สำนักเทศกิจ)
สํานักเทศกิจ
100 75.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
09: บริหารจัดการดี
สจส. 47. P075 ขอภาพจากกล้องCCTVออนไลน์ได้สะดวกรวดเร็ว
สํานักการจราจรและขนส่ง
1 0.0 วัน
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
48. โครงการส่งเสริมการเดินทางอย่างยั่งยืน (Bangkok Car Free Day 2023)
สํานักการจราจรและขนส่ง
6 10.0 ครั้ง
0
01: ปลอดภัยดี
49. P076 ยกระดับคุณภาพกล้องวงจรปิด ป้องกันอาชญากรรมเชิงรุก
สํานักการจราจรและขนส่ง
100 0.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
สจส. 50. P088 ใช้CCTVกวดขันวินัยจราจร
สํานักการจราจรและขนส่ง
97 0.0 กล้อง
0
01: ปลอดภัยดี
09: บริหารจัดการดี
สจส. 51. โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพเหนือ
สํานักการจราจรและขนส่ง
1 0.0 วัน
12
01: ปลอดภัยดี
09: บริหารจัดการดี
สจส. 52. โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยบริเวณพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่กลุ่มกรุงเทพตะวันออก
สํานักการจราจรและขนส่ง
1 0.0 วัน
0
01: ปลอดภัยดี
09: บริหารจัดการดี
สจส. 53. 1-P075 ขอภาพจากกล้องCCTVออนไลน์ได้สะดวกรวดเร็ว
สํานักการจราจรและขนส่ง
1 0.0 วัน
0
01: ปลอดภัยดี
09: บริหารจัดการดี
สจส. 54. 11111-P075 ขอภาพจากกล้องCCTVออนไลน์ได้สะดวกรวดเร็ว
สํานักการจราจรและขนส่ง
1 0.0 วัน
0
01: ปลอดภัยดี
55. P076 ยกระดับคุณภาพกล้องวงจรปิด ป้องกันอาชญากรรมเชิงรุก
สํานักการจราจรและขนส่ง
100 36.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
สจส. 56. P088 ใช้CCTVกวดขันวินัยจราจร
สํานักการจราจรและขนส่ง
97 100.0 กล้อง
0
01: ปลอดภัยดี
09: บริหารจัดการดี
สจส. 57. P075 ขอภาพจากกล้องCCTVออนไลน์ได้สะดวกรวดเร็ว
สํานักการจราจรและขนส่ง
1 51.0 วัน
0
01: ปลอดภัยดี
09: บริหารจัดการดี
สจส. 58. กิจกรรมการพัฒนาและบริหารจัดการนวัตกรรมของสำนักการจราจรและขนส่ง
สํานักการจราจรและขนส่ง
1 60.0 วัน
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
59. จัดทำเครื่องหมายจราจรบนพื้นทางด้วยวัสดุเทอร์โมพลาสติก พื้นที่พระนครเหนือ
สํานักการจราจรและขนส่ง
100 68.0 ร้อยละ
80,000,000
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
60. จัดทำเครื่องหมายจราจรบนพื้นทางด้วยวัสดุโคลด์พลาสติก พื้นที่พระนครเหนือ
สํานักการจราจรและขนส่ง
100 65.0 ร้อยละ
20,000,000
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
61. จัดทำผิวจราจรเพื่อต้านทานการลื่นไถล (Anti Skid) บริเวณจุดเสี่ยงอันตราย พื้นที่พระนครเหนือ
สํานักการจราจรและขนส่ง
100 45.0 ร้อยละ
39,450,000
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
62. จัดทำเครื่องหมายจราจรบนพื้นทางด้วยวัสดุเทอร์โมพลาสติก พื้นที่พระนครใต้
สํานักการจราจรและขนส่ง
100 75.0 ร้อยละ
34,000,000
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
63. จัดทำเครื่องหมายจราจรบนพื้นทางด้วยวัสดุโคลด์พลาสติก พื้นที่พระนครใต้
สํานักการจราจรและขนส่ง
100 75.0 ร้อยละ
10,000,000
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
64. จัดทำผิวจราจรเพื่อต้านทานการลื่นไถล (Aniti Skid) บริเวณจุดเสี่ยงอันตราย พื้นที่พระนครใต้
สํานักการจราจรและขนส่ง
100 60.0 ร้อยละ
15,000,000
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
65. จัดทำเครื่องหมายจราจรบนพื้นทางด้วยวัสดุเทอร์โมพลาสติก พื้นที่ธนบุรี
สํานักการจราจรและขนส่ง
100 60.0 ร้อยละ
60,000,000
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
66. จัดทำเครื่องหมายจราจรบนพื้นทางด้วยวัสดุสีโคลด์พลาสติก พื้นที่ธนบุรี
สํานักการจราจรและขนส่ง
100 35.0 ร้อยละ
30,040,000
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
67. จัดทำผิวจราจรเพื่อต้านทานการลื่นไถล (Anti Skid) บริเวณจุดเสี่ยงอันตราย พื้นที่ธนบุรี
สํานักการจราจรและขนส่ง
100 35.0 ร้อยละ
19,485,000
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
68. ติดตั้งสัญญาณไฟจราจรกะพริบเตือนทางข้าม 50 จุด
สํานักการจราจรและขนส่ง
100 85.0 ร้อยละ
10,545,000
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
69. P 091 พิจารณาความเหมาะสม ออกแบบเส้นทาง และออกข้อบังคับจราจรเพื่อลดความเร็ว ลดความเสี่ยง ในย่านชุมชนและถนนสายรอง
สํานักการจราจรและขนส่ง
100 50.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
70. P090 โครงการศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนนกรุงเทพมหานคร
สํานักการจราจรและขนส่ง
6 60.0 ครั้ง
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
71. P089 ค่าทำเครื่องหมายจราจรบนพื้นทางด้วยวัสดุโคลด์พลาสติกพื้นที่ ธนบุรี พระนครเหนือ พระนครใต้
สํานักการจราจรและขนส่ง
100 65.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
09: บริหารจัดการดี
สจส. 72. (Delete)
สํานักการจราจรและขนส่ง
1 0.0 วัน
0
01: ปลอดภัยดี
73. (Delete)
สํานักการจราจรและขนส่ง
100 0.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
สจส. 74. (Delete)
สํานักการจราจรและขนส่ง
97 0.0 กล้อง
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
75. P090 การเสริมสร้างการเรียนรู้ด้านการจราจรในเด็ก
สํานักการจราจรและขนส่ง
6 55.0 ครั้ง
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
76. โครงการบริหารจัดการศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนนกรุงเทพมหานคร
สํานักการจราจรและขนส่ง
6 60.0 ครั้ง
10
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
77. ติดตั้งอุปกรณ์ลดอันตรายในบริเวณจุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (พื้นที่พระนครเหนือ)
สํานักการจราจรและขนส่ง
100 100.0 ร้อยละ
7
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
78. ติดตั้งอุปกรณ์ลดอันตรายในบริเวณจุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (พื้นที่พระนครใต้)
สํานักการจราจรและขนส่ง
100 70.0 ร้อยละ
15
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
79. ติดตั้งอุปกรณ์ลดอันตรายในบริเวณจุดเสี่ยงภัยในพื้นที่พระนครใต้ บริเวณสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ถนนฉลองกรุง
สํานักการจราจรและขนส่ง
100 65.0 ร้อยละ
5
01: ปลอดภัยดี
09: บริหารจัดการดี
สจส. 80. P075 ขอภาพจากกล้องCCTVออนไลน์ได้สะดวกรวดเร็ว
สํานักการจราจรและขนส่ง
1 0.0 วัน
0
01: ปลอดภัยดี
81. P076 ยกระดับคุณภาพกล้องวงจรปิด ป้องกันอาชญากรรมเชิงรุก
สํานักการจราจรและขนส่ง
100 0.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
สจส. 82. P088 ใช้CCTVกวดขันวินัยจราจร
สํานักการจราจรและขนส่ง
97 0.0 กล้อง
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
83. ติดตั้งอุปกรณ์ลดอันตรายในบริเวณจุดเสี่ยงภัยต่อการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (พื้นที่ธนบุรี)
สํานักการจราจรและขนส่ง
100 100.0 ร้อยละ
2
01: ปลอดภัยดี
84. โครงการประเมินและวิเคราะห์ความปลอดภัยทางถนนกรุงเทพมหานครด้วยมาตรฐานนานาชาติ (iRAP)
สํานักการจราจรและขนส่ง
1 60.0 ระบบ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
สจส. 85. ก่อสร้างศาลาที่พักผู้โดยสารรถประจำทาง กลุ่มเขตกรุงเทพตะวันออก จำนวน 6 หลัง
สํานักการจราจรและขนส่ง
100 20.0 ร้อยละ
1
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
สจส. 86. ก่อสร้างศาลาที่พักผู้โดยสารรถประจำทาง กลุ่มเขตกรุงเทพฯ ใต้ จำนวน 7 หลัง
สํานักการจราจรและขนส่ง
100 20.0 ร้อยละ
1
01: ปลอดภัยดี
87. การพัฒนาระบบ BKK Risk Map
สำนักการวางผังและพัฒนาเมือง
1 90.0 ระบบ
0
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 88. กิจกรรมการฝึกอบรมฝึกซ้อมอพยพหนีไฟให้แก่ภาคเอกชน
สํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
2 40.0 ครั้ง/ปี
0
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 89. กิจกรรมการให้ความรู้ด้านการป้องกันและการเตรียมความพร้อมรับมือสาธารณภัยให้กับชุมชนที่ได้รับการประเมินว่ามีความเสี่ยงสูงพร้อมกับแนวทางการจัดทำแผนเตรียมความพร้อมรับมือสาธารณภัยของชุมชน
สํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
2 33.0 ครั้ง/ปี
0
01: ปลอดภัยดี
90. โครงการค่าใช้จ่ายในการสงเคราะห์ผู้ประสบสาธารณภัยและปัญหาเฉพาะหน้า
สํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
100 50.0 ร้อยละ
8,000,000
01: ปลอดภัยดี
91. กิจกรรมพัฒนารูปแบบแนวทางหลักเกณฑ์การให้ความช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัย เช่น การจ่าเงินแทนชุดนักเรียน การจัดหายารักษาโรค
สํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
100 33.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 92. กิจกรรมเพิ่มประปาหัวแดงโดยการหารือร่วมกับการประปานครหลวง
สํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
100 60.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
93. โครงการฝึกอบรมหลักสูตรการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยขั้นพื้นฐาน
สํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
100 68.0 ร้อยละ
28,768,900
01: ปลอดภัยดี
94. โครงการฝึกอบรมหลักสูตรทบทวน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566
สํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
100 70.0 ร้อยละ
25,668,200
01: ปลอดภัยดี
95. โครงการฝึกอบรมการป้องกันและระงับอัคคีภัยในอาคารขนาดใหญ่ อาคารสูง และอาคารที่พักอาศัยในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
สํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
100 25.0 ร้อยละ
15,607,000
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 96. กิจกรรมการประชาสัมพันธ์สร้างความตระหนักรู้ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย แก่เด็กนักเรียน และประชาชน
สํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
2 40.0 ครั้ง/ปี
0
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 97. กิจกรรมการฝึกอบรมฝึกซ้อมอพยพหนีไฟให้แก่ภาครัฐ
สํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
2 30.0 ครั้ง/ปี
0
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 98. กิจกรรมตรวจสอบจุดอับหรือพื้นที่คับแคบของกรุงเทพมหานคร
สํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
100 22.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 99. กิจกรรมศึกษาความเหมาะสมในการจัดหาวัสดุอุปกรณ์เพื่อใช้ในการเข้าระงับเหตุและช่วยเหลือขั้นเบื้องต้น
สํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
100 10.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 100. กิจกรรมดำเนินการจัดหาวัสดุอุปกรณ์ โดยการขยายผลจากการศึกษา
สํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
100 12.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 101. กิจกรรมการฝึกอบรมให้ความรู้การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้กับชุมชน
สํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
2 51.0 ครั้ง/ปี
0
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 102. กิจกรรมการจัดทำแผนปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยประจำปีของสำนักงานเขต
สํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
2 54.0 ครั้ง/ปี
0
01: ปลอดภัยดี
103. โครงการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานร่วมกัน ระหว่างอาสาสมัครและเจ้าหน้าที่รัฐในการปฏิบัติการดับเพลิงและกู้ภัย
สํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
100 30.0 ร้อยละ
13,348,000
01: ปลอดภัยดี
104. กิจกรรมลดและยับยั้งผลกระทบทางสุขภาพของประชาชนและผู้ปฏิบัติงานเมื่อเกิดเหตุภัยพิบัติ
สํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
100 30.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
105. โครงการจัดหาวัสดุอุปโภคบริโภคให้แก่ผู้ประสบภัย
สํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
100 50.0 ร้อยละ
6,000,000
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 106. กิจกรรมฝึกซ้อมตามแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (สำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย)
สํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
2 35.0 ครั้ง/ปี
0
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 107. กิจกรรมการพัฒนาบัญชีอุปกรณ์และยานพาหนะที่ใช้ในการปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
สํานักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
1 70.0 ระบบ
0
01: ปลอดภัยดี
05: สิ่งแวดล้อมดี
06: สุขภาพดี
สสล. 108. ค่าใช้จ่ายในการเพิ่มศักยภาพและสิ่งอำนวยความสะดวกในการเข้าถึงสวนสาธารณะ (สสณ.)
สํานักสิ่งแวดล้อม
3 60.0 แห่ง
40,000,000
01: ปลอดภัยดี
05: สิ่งแวดล้อมดี
06: สุขภาพดี
สสล. 109. โครงการสร้างสวนสาธารณะสำหรับสุนัข Dog Park (สสณ.)
สํานักสิ่งแวดล้อม
3 50.0 แห่ง
0
01: ปลอดภัยดี
110. โครงการศูนย์ประสานงานและช่วยเหลือคนเร่ร่อนไร้ที่พึ่งในพื้นที่สาธารณะของกรุงเทพมหานคร
สํานักพัฒนาสังคม
1 56.0 แนวทาง
2,485,450
01: ปลอดภัยดี
111. ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรทบทวน)
สำนักงานเขตพระนคร
100 100.0 ร้อยละ
41,500
01: ปลอดภัยดี
112. ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรหลัก)
สำนักงานเขตพระนคร
100 39.0 ร้อยละ
64,100
01: ปลอดภัยดี
113. โครงการติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย
10,000 65.0 ดวง
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
114. โครงการแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุ (Black Spot) ในพื้นที่เขตฯ
สำนักงานเขตป้อมปราบศัตรูพ่าย
100 50.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
115. กิจกรรมติดตั้งและซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่างประจำปีงบประมาณ 2566
สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์
10,000 60.0 ดวง
0
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 116. กิจกรรมฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ
สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์
2 60.0 ครั้ง/ปี
0
01: ปลอดภัยดี
03: เศรษฐกิจดี
117. กิจกรรมการรณรงค์ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้กับสัตว์เลี้ยงในพื้นที่เขตสัมพันธวงศ์
สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์
12 50.0 ครั้ง
0
01: ปลอดภัยดี
118. ฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรทบทวน)
สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์
100 50.0 ร้อยละ
41,500
01: ปลอดภัยดี
119. ตรวจจุดเสี่ยงจุดล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่เขตสัมพันธวงศ์
สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์
1 66.0 ระบบ
0
01: ปลอดภัยดี
สนท. 120. ตรวจจุดเสี่ยงจุดล่อแหลมต่อการเกิดอาชญากรรมในพื้นที่เขตสัมพันธวงศ์
สำนักงานเขตสัมพันธวงศ์
50 66.0 พื้นที่เขต
0
01: ปลอดภัยดี
121. ค่าใช้จ่ายอาสาสมัครกรุงเทพมหานครเฝ้าระวังภัยและยาเสพติด
สำนักงานเขตปทุมวัน
100 20.0 ร้อยละ
35,800
01: ปลอดภัยดี
122. โครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครด้านการ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาและสารเสพติด
สำนักงานเขตปทุมวัน
100 100.0 ร้อยละ
2,537,000
01: ปลอดภัยดี
สนท. 123. ตู้เขียว
สำนักงานเขตปทุมวัน
50 100.0 พื้นที่เขต
0
01: ปลอดภัยดี
124. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนกิจกรรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
สำนักงานเขตปทุมวัน
100 50.0 ร้อยละ
352,000
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
05: สิ่งแวดล้อมดี
09: บริหารจัดการดี
125. โครงการ จับปรับ ผู้ทิ้งขยะลงแหล่งน้ำ
สำนักงานเขตปทุมวัน
100 100.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
126. ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรทบทวน)
สำนักงานเขตดุสิต
100 10.0 ร้อยละ
41,500
01: ปลอดภัยดี
127. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
สำนักงานเขตดุสิต
100 35.0 ร้อยละ
352,000
01: ปลอดภัยดี
128. ค่าใช้จ่ายในการจ้างอาสาสมัครเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคม
สำนักงานเขตดุสิต
1 60.0 แนวทาง
585,200
01: ปลอดภัยดี
สนท. 129. โครงการบูรณาการดำเนินงานด้านความปลอดภัยจากอาชญากรรมเชิงพื้นที่
สำนักงานเขตดุสิต
50 13.0 พื้นที่เขต
0
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 130. ชุมชนพญาไท ปลอดภัยไว้ก่อน (SAFETY FIRST)
สำนักงานเขตพญาไท
2 30.0 ครั้ง/ปี
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
131. แก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุ ในพื้นที่เขตพญาไท
สำนักงานเขตพญาไท
6 10.0 ครั้ง
0
01: ปลอดภัยดี
06: สุขภาพดี
08: เรียนดี
สนท. 132. กลับบ้านปลอดภัยไปกลับเทศกิจ
สำนักงานเขตห้วยขวาง
100 65.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
สนท. 133. โครงการการตรวจพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม(ตู้เขียว)
สำนักงานเขตห้วยขวาง
50 60.0 พื้นที่เขต
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
สนท. 134. บูรณาการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเชิงพื้นที่
สำนักงานเขตห้วยขวาง
1 65.0 ระบบการตรวจสอบและรายงานผล
0
01: ปลอดภัยดี
สนท. 135. โครงการรณรงค์ขับขี่ปลอดภัยร่วมใจใส่หมวกกันน็อคร้อยเปอร์เซ็น
สำนักงานเขตพระโขนง
50 35.0 พื้นที่เขต
0
01: ปลอดภัยดี
สนท. 136. สำรวจและประเมินพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม
สำนักงานเขตพระโขนง
50 100.0 พื้นที่เขต
0
01: ปลอดภัยดี
สนท. 137. อาสาสมัครกรุงเทพมหานครด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาและสารเสพติด
สำนักงานเขตบางกะปิ
50 59.0 พื้นที่เขต
56,400
01: ปลอดภัยดี
138. ฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรหลัก)
สำนักงานเขตบางกะปิ
100 44.0 ร้อยละ
64,100
01: ปลอดภัยดี
สนท. 139. โครงการบูรณาการแก้ไขปรับปรุงจุดเสี่ยงในพื้นที่เขตบางเขน
สำนักงานเขตบางเขน
50 67.0 พื้นที่เขต
0
01: ปลอดภัยดี
140. โครงการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
สำนักงานเขตบางเขน
100 70.0 ร้อยละ
352,000
01: ปลอดภัยดี
สนท. 141. โครงการบูรณาการด้านความปลอดภัยเชิงพื้นที่
สำนักงานเขตบางเขน
50 70.0 พื้นที่เขต
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
142. โครงการจัดระเบียบการจอดหรือขับขี่รถบนทางเท้า
สำนักงานเขตบางเขน
6 65.0 ครั้ง
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
143. โครงการจัดระเบียบป้ายผิดกฎหมายในที่สาธารณะ
สำนักงานเขตบางเขน
6 68.0 ครั้ง
0
01: ปลอดภัยดี
144. (P001) โครงการติดตั้งและซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่างในที่สาธารณะและจุดเสี่ยงภัย 2566
สำนักงานเขตมีนบุรี
10,000 50.0 ดวง
0
01: ปลอดภัยดี
145. (P140) โครงการสนับสนุนเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติงานด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการและผู้ด้อยโอกาส
สำนักงานเขตมีนบุรี
1 71.0 แนวทาง
514,600
01: ปลอดภัยดี
146. (P082) โครงการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรหลัก) 2566
สำนักงานเขตมีนบุรี
100 100.0 ร้อยละ
64,100
01: ปลอดภัยดี
147. (ใหม่) ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน 2566
สำนักงานเขตมีนบุรี
100 70.0 ร้อยละ
352,000
01: ปลอดภัยดี
สนท. 148. (P078)โครงการบูรณาการดำเนินงานด้านความปลอดภัยจากอาชญากรรมเชิงพื้นที่ (2566)
สำนักงานเขตมีนบุรี
50 70.0 พื้นที่เขต
0
01: ปลอดภัยดี
149. (P140) โครงการค่าใช้จ่ายในการจัดสวัสดิการ การสงเคราะห์ช่วยเหลือเด็ก สตรี ครอบครัว ผู้ด้อยโอกาส ผู้สูงอายุและคนพิการ
สำนักงานเขตมีนบุรี
1 71.0 แนวทาง
522,000
01: ปลอดภัยดี
150. โครงการจ้างอาสาสมัครเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคม
สำนักงานเขตมีนบุรี
1 71.0 แนวทาง
585,200
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
05: สิ่งแวดล้อมดี
09: บริหารจัดการดี
151. (P094) รณรงค์สิทธิและระเบียบวินัยพลเมืองในเรื่องจราจร ความสะอาด คอร์รับชั่น สิ่งแวดล้อม
สำนักงานเขตมีนบุรี
100 100.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
152. (P137) ขึ้นทะเบียนสัตว์เลี้ยงตลอดช่วงชีวิต
สำนักงานเขตมีนบุรี
50 100.0 เขต
0
01: ปลอดภัยดี
03: เศรษฐกิจดี
153. (P138) กิจกรรมตามนโยบายผู้ว่า จัดระเบียบสัตว์จร แก้ไขปัญหาผ่านการจัดการอย่างเป็นระบบ
สำนักงานเขตมีนบุรี
12 50.0 ครั้ง
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
สนท. 154. (P092 , P100) โครงการถนนปลอดภัย ปันน้ำใจ เพิ่มความสุข
สำนักงานเขตมีนบุรี
1 70.0 ระบบการตรวจสอบและรายงานผล
0
01: ปลอดภัยดี
06: สุขภาพดี
08: เรียนดี
สนท. 155. (P203) โครงการกลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ
สำนักงานเขตมีนบุรี
100 65.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
03: เศรษฐกิจดี
09: บริหารจัดการดี
สนอ. 156. (P198) ห้องให้นม - ปั๊มนม ให้นมในสถานที่ของ กทม. (สำนักงานเขตมีนบุรี)
สำนักงานเขตมีนบุรี
60 100.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
สกก. 157. (P009) การจัดกิจกรรมหน่วยงาน กทม. เข้าใจ สนับสนุนความเท่าเทียมและยอมรับความหลากหลายทางเพศ
สำนักงานเขตมีนบุรี
100 100.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 158. (P087) แผนฝึกซ้อมดับเพลิงและอพยพหนีไฟในอาคารสำนักงานเขตมีนบุรี
สำนักงานเขตมีนบุรี
2 100.0 ครั้ง/ปี
0
01: ปลอดภัยดี
03: เศรษฐกิจดี
09: บริหารจัดการดี
สนอ. 159. ห้องปั๊มนม เลี้ยงลูกด้วยนมแม่
สำนักงานเขตหนองจอก
60 100.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
160. บูรณาการแก้ไขปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุในพื้นที่เขตหนองจอก
สำนักงานเขตหนองจอก
100 62.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
161. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
สำนักงานเขตธนบุรี
100 60.0 ร้อยละ
352,000
01: ปลอดภัยดี
162. ค่าใช้จ่ายในการจ้างอาสาสมัครเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคม
สำนักงานเขตธนบุรี
1 67.0 แนวทาง
585,200
01: ปลอดภัยดี
163. ค่าใช้จ่ายโครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาและสารเสพติด
สำนักงานเขตธนบุรี
100 60.0 ร้อยละ
90,200
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
สนย. 164. โครงการปรับปรุงซอยเจริญรัถ 30 จากต้นซอยถึงบ้านเลขที่ 32
สำนักงานเขตคลองสาน
100 90.0 ร้อยละ
372,000
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
สนย. 165. โครงการปรับปรุงซอยชุมชน 200 ห้อง จากต้นซอยถึงบ้านเลขที่ 209
สำนักงานเขตคลองสาน
100 90.0 ร้อยละ
112,000
01: ปลอดภัยดี
สนท. 166. โครงการบูรณาการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเชิงพื้นที่
สำนักงานเขตบางกอกใหญ่
50 10.0 พื้นที่เขต
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
167. บูรณาการแก้ไขปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุในพื้นที่เขตบางกอกใหญ่
สำนักงานเขตบางกอกใหญ่
100 64.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
สนท. 168. ดำเนินงานด้านความปลอดภัยจากอาชญากรรม
สำนักงานเขตบางกอกใหญ่
50 65.0 พื้นที่เขต
0
01: ปลอดภัยดี
169. ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรทบทวน) (เขตบางกอกน้อย)
สำนักงานเขตบางกอกน้อย
100 100.0 ร้อยละ
41,500
01: ปลอดภัยดี
สนท. 170. บูรณาการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเชิงพื้นที่ (สำนักงานเขตตลิ่งชัน)
สำนักงานเขตตลิ่งชัน
50 80.0 พื้นที่เขต
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
171. กวดขันรถยนต์และรถจักรยานยนต์ จอดหรือขับขี่บนทางเท้า (สำนักงานเขตตลิ่งชัน)
สำนักงานเขตตลิ่งชัน
6 80.0 ครั้ง
0
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 172. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
สำนักงานเขตภาษีเจริญ
2 64.0 ครั้ง/ปี
352,000
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
173. กิจกรรมการจัดทำแผนปฏิบัติการความปลอดภัยทางถนนสำนักงานเขตภาษีเจริญ
สำนักงานเขตภาษีเจริญ
100 50.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
05: สิ่งแวดล้อมดี
06: สุขภาพดี
สสล. 174. ค่าใช้จ่ายในการบำรุงรักษา ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว
สำนักงานเขตบางขุนเทียน
3 90.0 แห่ง
500,000
01: ปลอดภัยดี
สนท. 175. โครงการบูรณาการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเชิงพื้นที่
สำนักงานเขตบางขุนเทียน
50 70.0 พื้นที่เขต
0
01: ปลอดภัยดี
176. (สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ) ค่าใช้จ่ายในการจ้างอาสาสมัครเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคม
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ
1 50.0 แนวทาง
585,200
01: ปลอดภัยดี
177. (สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ) ค่าใช้จ่ายในการสนับสนุนเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติงานด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ
1 50.0 แนวทาง
514,600
01: ปลอดภัยดี
178. (สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ) ค่าใช้จ่ายในการจัดสวัสดิการ การสงเคราะห์ช่วยเหลือเด็ก สตรี ครอบครัว ผู้ด้อยโอกาส ผู้สูงอายุและคนพิการ
สำนักงานเขตราษฎร์บูรณะ
1 60.0 แนวทาง
439,000
01: ปลอดภัยดี
179. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
สำนักงานเขตดอนเมือง
100 60.0 ร้อยละ
352,000
01: ปลอดภัยดี
สนท. 180. ค่าใช้จ่ายโครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาและสารเสพติด
สำนักงานเขตดอนเมือง
50 70.0 พื้นที่เขต
218,600
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
181. ปรับปรุงซอยสรณคมน์ 17 ช่วงปลาย
สำนักงานเขตดอนเมือง
100 100.0 ร้อยละ
1,221,000
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
182. ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมบำรุงรักษาถนน ตรอก ซอย และสิ่งสาธารณประโยชน์ เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน
สำนักงานเขตดอนเมือง
100 75.0 ร้อยละ
3,000,000
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
183. กิจกรรมการลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน
สำนักงานเขตดอนเมือง
100 5.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
05: สิ่งแวดล้อมดี
09: บริหารจัดการดี
184. โครงการเฝ้าระวังและตรวจตราพื้นที่เสี่ยง
สำนักงานเขตจตุจักร
100 80.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
185. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ยพลเรือน
สำนักงานเขตจตุจักร
100 50.0 ร้อยละ
352,000
01: ปลอดภัยดี
186. โครงการบูรณาการแก้ไขปรับปรุงจุดเสี่ยงในพื้นที่เขตจตุจักร
สำนักงานเขตจตุจักร
10,000 5.0 ดวง
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
187. โครงการบูรณาการแก้ไขปรับปรุงจุดเสี่ยงในพื้นที่เขตจตุจักร
สำนักงานเขตจตุจักร
100 5.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
188. การจัดสวัสดิการ การสงเคราะห์ช่วยเหลือเด็ก สตรี ครอบครัว ผู้ด้อยโอกาส ผู้สูงอายุและคนพิการ
สำนักงานเขตลาดพร้าว
1 100.0 แนวทาง
107,500
01: ปลอดภัยดี
189. จ้างอาสาสมัครเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคม
สำนักงานเขตลาดพร้าว
1 66.0 แนวทาง
585,200
01: ปลอดภัยดี
190. สนับสนุนเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติงานด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส
สำนักงานเขตลาดพร้าว
1 66.0 แนวทาง
514,600
01: ปลอดภัยดี
191. โครงการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
สำนักงานเขตลาดพร้าว
100 30.0 ร้อยละ
352,000
01: ปลอดภัยดี
192. โครงการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรทบทวน)
สำนักงานเขตลาดพร้าว
100 10.0 ร้อยละ
41,500
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
สจส. 193. โครงการแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุ(black spot)ในพื้นที่เขตบึงกุ่ม
สำนักงานเขตบึงกุ่ม
97 68.0 กล้อง
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
194. โครงการแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุ(black spot)ในพื้นที่เขตบึงกุ่ม
สำนักงานเขตบึงกุ่ม
100 68.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
195. โครงการแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุ(black spot)ในพื้นที่เขตบึงกุ่ม
สำนักงานเขตบึงกุ่ม
6 68.0 ครั้ง
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
196. โครงการแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุ(black spot)ในพื้นที่เขตบึงกุ่ม
สำนักงานเขตบึงกุ่ม
100 68.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
05: สิ่งแวดล้อมดี
09: บริหารจัดการดี
197. โครงการแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุ(black spot)ในพื้นที่เขตบึงกุ่ม
สำนักงานเขตบึงกุ่ม
100 68.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 198. โครงการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
สำนักงานเขตสาทร
2 30.0 ครั้ง/ปี
352,000
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 199. ฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรทบทวน)
สำนักงานเขตสาทร
2 10.0 ครั้ง/ปี
41,500
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 200. บูรณาการซ้อมแผนป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยร่วมกับภาคเอกชนทุกปี
สำนักงานเขตสาทร
2 28.0 ครั้ง/ปี
0
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 201. สำรวจจุดติดตั้งหัวจ่ายน้ำดับเพลิง (ประปาหัวแดง) ในพื้นที่เขตสาทร
สำนักงานเขตสาทร
100 100.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
03: เศรษฐกิจดี
202. จัดระเบียบสัตว์จร แก้ปัญหาผ่านการจัดการอย่างเป็นระบบ
สำนักงานเขตสาทร
12 0.0 ครั้ง
0
01: ปลอดภัยดี
203. กิจกรรมการติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่างบริเวณจุดเสี่ยงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร
สำนักงานเขตบางคอแหลม
10,000 100.0 ดวง
75,800
01: ปลอดภัยดี
204. ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
สำนักงานเขตบางคอแหลม
100 100.0 ร้อยละ
64,100
01: ปลอดภัยดี
สนท. 205. การตรวจพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม (ตู้เขียวระวังภัย)
สำนักงานเขตบางคอแหลม
50 60.0 พื้นที่เขต
0
01: ปลอดภัยดี
206. โครงการค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
สำนักงานเขตบางซื่อ
100 55.0 ร้อยละ
352,000
01: ปลอดภัยดี
207. เกี่ยวกับการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
สำนักงานเขตราชเทวี
100 70.0 ร้อยละ
352,000
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
208. ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนเขตราชเทวีปีงบประมาณ 2566
สำนักงานเขตราชเทวี
6 40.0 ครั้ง
0
01: ปลอดภัยดี
209. โครงการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
สำนักงานเขตประเวศ
100 60.0 ร้อยละ
352,000
01: ปลอดภัยดี
210. ฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรทบทวน)
สำนักงานเขตประเวศ
100 100.0 ร้อยละ
41,500
01: ปลอดภัยดี
06: สุขภาพดี
08: เรียนดี
สนท. 211. โครงการกลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ
สำนักงานเขตประเวศ
100 73.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
212. โครงการติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างสาธารณะตามโครงการ (มหาชนแห่งความปลอดภัย)
สำนักงานเขตประเวศ
10,000 50.0 ดวง
0
01: ปลอดภัยดี
09: บริหารจัดการดี
สจส. 213. โครงการบูรณาการผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเขตบางพลัด
สำนักงานเขตบางพลัด
1 100.0 วัน
0
01: ปลอดภัยดี
สนท. 214. โครงการบูรณาการผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเขตบางพลัด
สำนักงานเขตบางพลัด
50 100.0 พื้นที่เขต
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
215. แก้ไขปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุทางถนนในพื้นที่เขตบางพลัด
สำนักงานเขตบางพลัด
6 70.0 ครั้ง
0
01: ปลอดภัยดี
216. โครงการติดตั้งและซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัย
สำนักงานเขตจอมทอง
10,000 75.0 ดวง
200,000
01: ปลอดภัยดี
217. โครงการแก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุ (Black spot) ในพื้นที่เขตจอมทอง
สำนักงานเขตจอมทอง
1 73.0 ระบบ
0
01: ปลอดภัยดี
218. กิจกรรมจัดทำแผนติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัยหรือเสี่ยงอันตราย
สำนักงานเขตจอมทอง
10,000 100.0 ดวง
0
01: ปลอดภัยดี
219. โครงการติดตั้งและซ่อมแซมไฟฟ้าส่องสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัย
สำนักงานเขตจอมทอง
10,000 75.0 ดวง
0
01: ปลอดภัยดี
220. อาสาสมัครกรุงเทพมหานครด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาและสารเสพติด
สำนักงานเขตจอมทอง
100 70.0 ร้อยละ
108,600
01: ปลอดภัยดี
221. ฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรทบทวน)
สำนักงานเขตจอมทอง
100 100.0 ร้อยละ
41,500
01: ปลอดภัยดี
222. โครงการบูรณาการผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเชิงพื้นที่
สำนักงานเขตดินแดง
1 66.0 ระบบ
0
01: ปลอดภัยดี
สนท. 223. โครงการบูรณาการผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเชิงพื้นที่
สำนักงานเขตดินแดง
50 66.0 พื้นที่เขต
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
สนท. 224. โครงการถนนปลอดภัย ปันน้ำใจ เพิ่มความสุข
สำนักงานเขตดินแดง
1 66.0 ระบบการตรวจสอบและรายงานผล
0
01: ปลอดภัยดี
06: สุขภาพดี
08: เรียนดี
สนท. 225. โครงการกลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ
สำนักงานเขตดินแดง
100 66.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
226. โครงการการแก้ไขปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุ พื้นที่เขตดินแดง
สำนักงานเขตดินแดง
1 55.0 ระบบ
0
01: ปลอดภัยดี
227. กิจกรรมติดตั้งและซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เขตสวนหลวง
สำนักงานเขตสวนหลวง
10,000 65.0 ดวง
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
05: สิ่งแวดล้อมดี
09: บริหารจัดการดี
228. รณรงค์ลดอุบัติเหตุบริเวณทางข้ามม้าลาย
สำนักงานเขตสวนหลวง
100 45.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
สนท. 229. บูรณาการผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเชิงพื้นที่
สำนักงานเขตสวนหลวง
50 75.0 พื้นที่เขต
0
01: ปลอดภัยดี
สนท. 230. อาสาสมัครกรุงเทพมหานครด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาและสารเสพติด
สำนักงานเขตวัฒนา
50 50.0 พื้นที่เขต
63,800
01: ปลอดภัยดี
231. ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรทบทวน)
สำนักงานเขตวัฒนา
100 100.0 ร้อยละ
41,500
01: ปลอดภัยดี
232. แผนติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่างในพื้นที่เสี่ยงภัยหรื่อเสี่ยงอันตรายเขตวัฒนา
สำนักงานเขตวัฒนา
10,000 60.0 ดวง
207,500
01: ปลอดภัยดี
233. โครงการฝึกอบรม สัมมนา และศึกษาดูงานเพื่อพัฒนาศักยภาพของ ผู้ปฏิบัติงานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยและผู้เกี่ยวข้อง (สำนักงานเขตบางแค 66)
สำนักงานเขตบางแค
100 100.0 ร้อยละ
967,100
01: ปลอดภัยดี
234. 13 ค่าใช้จ่ายในการจัดสวัสดิการ การสงเคราะห์ช่วยเหลือเด็ก สตรี ครอบครัว ผู้ด้อยโอกาส ผู้สูงอายุและคนพิการ (สำนักงานเขบางแค 66)
สำนักงานเขตบางแค
1 70.0 แนวทาง
257,000
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
05: สิ่งแวดล้อมดี
09: บริหารจัดการดี
235. โครงการกรุงเทพมหานครเขตปลอดบุหรี่ (สำนักงานเขตบางแค 66)
สำนักงานเขตบางแค
100 75.0 ร้อยละ
100,000
01: ปลอดภัยดี
05: สิ่งแวดล้อมดี
06: สุขภาพดี
สสล. 236. โครงการบำรุงรักษา ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว
สำนักงานเขตหลักสี่
3 10.0 แห่ง
195,400
01: ปลอดภัยดี
สนท. 237. แก้ไข/ปรับปรุงจุดเสี่ยงอุบัติเหตุ (ฺBlack Sport) ในพื้นที่เขตสายไหม
สำนักงานเขตสายไหม
50 80.0 พื้นที่เขต
0
01: ปลอดภัยดี
สนท. 238. กิจกรรมตรวจตราและเฝ้าระวังพื้นที่เสี่ยง
สำนักงานเขตสายไหม
50 70.0 พื้นที่เขต
0
01: ปลอดภัยดี
239. โครงการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรหลัก)
สำนักงานเขตสายไหม
100 10.0 ร้อยละ
64,100
01: ปลอดภัยดี
240. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
สำนักงานเขตสายไหม
100 10.0 ร้อยละ
352,000
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
สนท. 241. ่ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมบำรุงรักษา ถนน ตรอก ซอย และสิ่งสาธารณะประโยชน์เพื่อแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน
สำนักงานเขตคันนายาว
1 55.0 ระบบการตรวจสอบและรายงานผล
3,000,000
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
242. โครงการลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน
สำนักงานเขตคันนายาว
6 70.0 ครั้ง
0
01: ปลอดภัยดี
สนท. 243. ค่าใช้จ่ายโครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายา และสารเสพติด
สำนักงานเขตสะพานสูง
50 10.0 พื้นที่เขต
90,900
01: ปลอดภัยดี
244. การจัดสวัสดิการ การสงเคราะห์ช่วยเหลือเด็ก สตรี ครอบครัว ผู้ด้อยโอกาส ผู้สูงอายุ และคนพิการ
สำนักงานเขตสะพานสูง
1 100.0 แนวทาง
205,500
01: ปลอดภัยดี
245. ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรทบทวน)
สำนักงานเขตวังทองหลาง
100 25.0 ร้อยละ
41,500
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
05: สิ่งแวดล้อมดี
09: บริหารจัดการดี
246. โครงการจับจริง ปรับจริง การจอดหรือขับขี่บนทางเท้า
สำนักงานเขตวังทองหลาง
100 63.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
247. กิจกรรมกรุงเทพฯ ต้องสว่าง
สำนักงานเขตคลองสามวา
10,000 40.0 ดวง
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
สนท. 248. กิจกรรมพนักงาน สนข. ตรวจสอบความพร้อมใช้สาธารณูปโภคเมืองเชิงรุก
สำนักงานเขตคลองสามวา
1 40.0 ระบบการตรวจสอบและรายงานผล
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
05: สิ่งแวดล้อมดี
09: บริหารจัดการดี
249. กิจกรรมรณรงค์สิทธิและวินัยพลเมืองในเรื่องจราจร ความสะอาด คอร์รัปชั่นสิ่งแวดล้อมพื้นที่เขตคลองสามวา
สำนักงานเขตคลองสามวา
100 50.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
250. กิจกรรมช่วยเหลือเยียวยาผู้ประสบภัยและเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการเชิงรุก
สำนักงานเขตคลองสามวา
100 10.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
03: เศรษฐกิจดี
09: บริหารจัดการดี
สนอ. 251. กิจกรรมสร้างห้องปั๊มนม - ให้นมในสถานที่ของกรุงเทพมหานคร
สำนักงานเขตคลองสามวา
60 100.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
252. กิจกรรมเทศกิจใส่ใจใช้ทางเท้าปลอดภัย
สำนักงานเขตคลองสามวา
6 50.0 ครั้ง
0
01: ปลอดภัยดี
สกก. 253. กิจกรรมสร้างความเข้าใจ สนับสนุนความเท่าเทียมและยอมรับความหลากหลายทางเพศ
สำนักงานเขตคลองสามวา
100 80.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 254. กิจกรรมการฝึกซ้อมการปฏิบัติการป้องกันและบรรเทาภัยจากอัคคีภัย เขตคลองสามวา
สำนักงานเขตคลองสามวา
2 10.0 ครั้ง/ปี
0
01: ปลอดภัยดี
สนท. 255. โครงการบูรณาการดำเนินงานด้านความปลอดภัยจากอาชญากรรมเชิงพื้นที่
สำนักงานเขตคลองสามวา
50 60.0 พื้นที่เขต
0
01: ปลอดภัยดี
256. กิจกรรม ขึ้นทะเบียนสัตว์เลี้ยงตลอดช่วงชีวิต
สำนักงานเขตคลองสามวา
50 35.0 เขต
0
01: ปลอดภัยดี
257. กิจกรรมจัดทำแผนที่เสี่ยงเขตคลองสามวา
สำนักงานเขตคลองสามวา
1 100.0 ระบบ
0
01: ปลอดภัยดี
03: เศรษฐกิจดี
258. กิจกรรม จัดระเบียบสัตว์จร
สำนักงานเขตคลองสามวา
12 20.0 ครั้ง
0
01: ปลอดภัยดี
สนท. 259. ปรับจริง จับจริง รถจอดและวิ่งบนทางเท้า
สำนักงานเขตคลองสามวา
50 60.0 พื้นที่เขต
0
01: ปลอดภัยดี
06: สุขภาพดี
08: เรียนดี
สนท. 260. โครงการกลับบ้านปลอดภัยไปกับเทศกิจ
สำนักงานเขตคลองสามวา
100 60.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
05: สิ่งแวดล้อมดี
09: บริหารจัดการดี
261. โครงการถนนปลอดภัย ปันน้ำใจ เพิ่มความสุข
สำนักงานเขตคลองสามวา
100 60.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
262. โครงการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
สำนักงานเขตคลองสามวา
100 45.0 ร้อยละ
352,000
01: ปลอดภัยดี
263. โครงการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรทบทวน)
สำนักงานเขตบางนา
100 100.0 ร้อยละ
41,500
01: ปลอดภัยดี
264. โครงการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
สำนักงานเขตบางนา
100 70.0 ร้อยละ
352,000
01: ปลอดภัยดี
265. โครงการติดตั้งและ/ซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่าง
สำนักงานเขตบางนา
10,000 70.0 ดวง
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
266. กิจกรรมการลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน
สำนักงานเขตบางนา
100 60.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
267. กิจกรรมการลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน
สำนักงานเขตบางนา
6 60.0 ครั้ง
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
268. กิจกรรมการลดจำนวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน
สำนักงานเขตบางนา
100 60.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
03: เศรษฐกิจดี
269. จัดระเบียบสัตว์จร แก้ปัญหาผ่านการจัดการอย่างเป็นระบบ
สำนักงานเขตทุ่งครุ
12 75.0 ครั้ง
0
01: ปลอดภัยดี
270. ยกระดับคุณภาพกล้องวงจรปิด ป้องกันอาชญากรรมเชิงรุก
สำนักงานเขตทุ่งครุ
100 80.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
สจส. 271. ใช้ CCTV กวดขันวินัยจราจร
สำนักงานเขตทุ่งครุ
97 80.0 กล้อง
0
01: ปลอดภัยดี
272. พัฒนาฐานข้อมูลดิจิทัลพื้นที่จุดเสี่ยงความปลอดภัย (BKK Risk Map)
สำนักงานเขตทุ่งครุ
1 80.0 ระบบ
0
01: ปลอดภัยดี
สกก. 273. หน่วยงาน กทม.เข้าใจ สนับสนุนความเท่าเทียม และยอมรับความ หลากหลายทางเพศ
สำนักงานเขตทุ่งครุ
100 100.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
03: เศรษฐกิจดี
09: บริหารจัดการดี
สนอ. 274. นำร่องสร้างห้องปั๊มนม-ให้นมในสถานที่ของกทม.
สำนักงานเขตทุ่งครุ
60 80.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
275. ขึ้นทะเบียนสัตว์เลี้ยงตลอดช่วงชีวิต
สำนักงานเขตทุ่งครุ
50 75.0 เขต
0
01: ปลอดภัยดี
276. บูรณาการผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเชิงพื้นที่
สำนักงานเขตทุ่งครุ
1 80.0 ระบบ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
สนท. 277. พนักงาน กทม.ตรวจสอบความพร้อมใช้สาธารณูปโภคเมืองเชิงรุก
สำนักงานเขตทุ่งครุ
1 90.0 ระบบการตรวจสอบและรายงานผล
0
01: ปลอดภัยดี
05: สิ่งแวดล้อมดี
06: สุขภาพดี
สสล. 278. เพิ่มเวลา เพิ่มสิ่งอำนวยความสะดวก เพิ่มการเข้าถึงสวนและพื้นที่สาธารณะ
สำนักงานเขตทุ่งครุ
3 95.0 แห่ง
0
01: ปลอดภัยดี
06: สุขภาพดี
08: เรียนดี
สนท. 279. ผู้ว่าฯ เที่ยงคืน สนับสนุนการใช้ชีวิตและเศรษฐกิจกลางคืน
สำนักงานเขตทุ่งครุ
100 80.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 280. พัฒนาบัญชีอุปกรณ์ในการเผชิญเหตุสาธารณภัยฉุกเฉินระดับย่าน
สำนักงานเขตทุ่งครุ
1 100.0 ระบบ
0
01: ปลอดภัยดี
281. ช่วยเหลือเยียวยา ผู้ประสบภัยและ เจ้าหน้าที่ ปฏิบัติการเชิงรุก
สำนักงานเขตทุ่งครุ
100 100.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 282. ซ้อมการเผชิญเหตุให้ครอบคลุมทุกระดับ ทั้งประชาชนและเจ้าหน้าที่
สำนักงานเขตทุ่งครุ
2 90.0 ครั้ง/ปี
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
05: สิ่งแวดล้อมดี
09: บริหารจัดการดี
283. รณรงค์สิทธิและระเบียบวินัยพลเมืองในเรื่องจราจร ความสะอาดคอร์รัปชั่น สิ่งแวดล้อม
สำนักงานเขตทุ่งครุ
100 100.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
09: บริหารจัดการดี
สพส. 284. จัดทำแผนยุทธศาสตร์ที่อยู่อาศัย โดยสำนักงานพัฒนาที่อยู่อาศัย (ดำเนินการแล้วเสร็จ)
สำนักงานเขตทุ่งครุ
1 100.0 แผน
0
01: ปลอดภัยดี
285. กรุงเทพฯ ต้องสว่าง
สำนักงานเขตทุ่งครุ
10,000 35.0 ดวง
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
สจส. 286. ป้ายรถเมล์มีข้อมูลและสว่างปลอดภัยทุกป้าย
สำนักงานเขตทุ่งครุ
100 50.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 287. เพิ่มประปาหัวแดง โดยเฉพาะเขตที่อยู่อาศัยหนาแน่น
สำนักงานเขตทุ่งครุ
100 40.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
288. พัฒนาฐานข้อมูลดิจิทัลแบบก่อสร้างและแปลนอาคารสนับสนุนการเผชิญเหตุให้มีประสิทธิภาพ
สำนักงานเขตทุ่งครุ
100 30.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
289. ลดความเร็ว ลดความเสี่ยง ในย่านชุมชนและถนนสายรอง
สำนักงานเขตทุ่งครุ
100 30.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
สนย. 290. กำหนดหน่วยงานรับผิดชอบโครงสร้างพื้นฐานด้านความปลอดภัยให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ
สำนักงานเขตทุ่งครุ
100 65.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
291. โครงการศูนย์อำนวยความปลอดภัยทางถนน
สำนักงานเขตทุ่งครุ
100 80.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
292. โครงการศูนย์อำนวยความปลอดภัยทางถนน
สำนักงานเขตทุ่งครุ
6 80.0 ครั้ง
0
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 293. ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรทบทวน)
สำนักงานเขตทุ่งครุ
2 60.0 ครั้ง/ปี
41,500
01: ปลอดภัยดี
สปภ. 294. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
สำนักงานเขตทุ่งครุ
2 35.0 ครั้ง/ปี
352,000
01: ปลอดภัยดี
04: เดินทางดี
05: สิ่งแวดล้อมดี
09: บริหารจัดการดี
295. กวดขันดูแลการทิ้งขยะในที่สาธารณะ และแม่น้ำ คู คลอง
สำนักงานเขตทุ่งครุ
100 85.0 ร้อยละ
0
01: ปลอดภัยดี
296. การสนับสนุนเจ้าหน้าที่เพื่อปฏิบัติงานด้านเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส
สำนักงานเขตทุ่งครุ
1 60.0 แนวทาง
514,600
01: ปลอดภัยดี
297. จ้างอาสาสมัครเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคม
สำนักงานเขตทุ่งครุ
1 60.0 แนวทาง
585,200
01: ปลอดภัยดี
สนท. 298. โครงการอาสาสมัครกรุงเทพมหานครด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหายาและสารเสพติด
สำนักงานเขตบางบอน
50 80.0 พื้นที่เขต
0
01: ปลอดภัยดี
299. โครงการเกี่ยวกับการสนับสนุนกิจการอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน
สำนักงานเขตบางบอน
100 63.0 ร้อยละ
352,000
01: ปลอดภัยดี
300. โครงการจัางอาสาสมัครเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านพัฒนาสังคม
สำนักงานเขตบางบอน
1 0.0 แนวทาง
585,200
01: ปลอดภัยดี
301. ติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างและซ่อมแซมไฟฟ้าแสงสว่าง
สำนักงานเขตบางบอน
10,000 90.0 ดวง
0
01: ปลอดภัยดี
302. โครงการฝึกอบรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน (หลักสูตรทบทวน)
สำนักงานเขตบางบอน
100 100.0 ร้อยละ
41,500
  • 001 : กรุงเทพฯ ต้องสว่าง 0 1 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 1 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : // หน่วยงานสนับสนุน

    2.ประชาชนได้อะไร :เพิ่มสภาพแวดล้อมที่เป็นมิตร ปลอดภัยต่อการเดินทางสัญจรในเวลากลางคืนให้คนกรุงเทพฯ

    3.กทม.จะทำอย่างไร :- เปิดรับรายงานปัญหาแสงสว่างผ่านฟองดูว์ จากภาคประชาชน และเจ้าหน้าที่ภาคสนามของกทม. - เร่งรัดประสานงานกับการไฟฟ้านครหลวง และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการดูแลปัญหาแสงสว่าง - ประสานงานกับการไฟฟ้านครหลวงในการติดตั้งไฟส่องสว่างเพิ่มเติม ในพื้นที่ที่มืด - พิจารณารูปแบบไฟส่องสว่างแบบโคมปิดครอบด้านบน ป้องกันแสงรบกวนผู้อยู่อาศัย นก แมลง และสัตว์ป่าอื่นๆ ในเมืองที่อาศัยอยู่ตามต้นไม้

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :ตัวชี้วัด จำนวนดวงไฟในการติดตั้ง/ซ่อมแซมไฟฟ้าตามแผนที่กำหนด กทม. จะช่วยดูแลร่วมกันดูแลความพร้อมและสภาพความสมบูรณ์ของไฟแสงสว่าง และเป็นเจ้าภาพในการประสานงาน เพื่อสร้างความปลอดภัยในการเดินทาง และการใช้ชีวิตในเมืองของคนกรุงเทพ โดย 1. เปิดรับรายงานปัญหาแสงสว่างผ่านฟองดูว์ จากภาคประชาชน และเจ้าหน้าที่ภาคสนามของกทม. 2. เร่งรัดประสานงานกับการไฟฟ้านครหลวง และหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในการดูแลปัญหาแสงสว่าง 3. ประสานงานกับการไฟฟ้านครหลวงในการติดตั้งไฟส่องสว่างเพิ่มเติม ในพื้นที่ที่มืด 4. พิจารณารูปแบบไฟส่องสว่างแบบโคมปิดครอบด้านบน ป้องกันแสงรบกวนผู้อยู่อาศัย นก แมลง และสัตว์ป่าอื่นๆ ในเมืองที่อาศัยอยู่ตามต้นไม้

    5.เป้าหมาย :ดวง : 10000

    6.Action Plan :

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 004 : พัฒนาฐานข้อมูลดิจิทัลพื้นที่จุดเสี่ยงความปลอดภัย (BKK Risk Map) 0 1 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 1 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : // หน่วยงานสนับสนุน

    2.ประชาชนได้อะไร :- เข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับความเสี่ยงทุกรูปแบบเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจในหลายมิติของชีวิต ทั้งการเดินทาง การเลือกโซนที่อยู่อาศัย และการอพยพเมื่อเกิดเหตุฉุกเฉิน - หน่วยงานต่าง ๆ สามารถจัดการกับจุดเสี่ยงในเมืองได้อย่างเป็นระบบและรวดเร็ว

    3.กทม.จะทำอย่างไร :- รวบรวมฐานข้อมูล เช่น ข้อมูลจุดมืด ข้อมูลสถิติอาชญากรรม ข้อมูลอุบัติเหตุ ข้อมูลน้ำท่วม ข้อมูลพื้นที่ต่ำ ข้อมูลโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อจัดทำเป็นแผนที่ความเสี่ยงกรุงเทพฯ (Bkk Risk map) - วิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมเพื่อแก้ไข ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานเพื่อป้องกันเหตุ หรือเพื่อสนับสนุนการเผชิญเหตุ

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :มีการจัดทำแผนที่ความเสี่ยงกรุงเทพมหานคร (Bkk Risk Map) ที่สามารถรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลความเสี่ยงได้

    5.เป้าหมาย :ระบบ : 1

    6.Action Plan :

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 009 : หน่วยงาน กทม.เข้าใจ สนับสนุนความเท่าเทียม และยอมรับความหลากหลายทางเพศ 0 0 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 0 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : สกก. // หน่วยงานสนับสนุน ทุกหน่วยงาน

    2.ประชาชนได้อะไร :กลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศ หรือ LGBTQ+ ในกทม.ได้รับการยอมรับผ่านความเข้าใจจาก กทม. ในฐานะหน่วยงานรัฐ ประชาชนได้รับการบริการอย่างเท่าเทียม ไม่เลือกปฏิบัติ ด้วยความเข้าใจในความอ่อนไหวทางเพศ (gender sensitivity) และความเท่าเทียมทางเพศ

    3.กทม.จะทำอย่างไร :การยอมรับความหลากหลายทางเพศวิถีและอัตลักษณ์ทางเพศในสังคมไทยยังคงมีเงื่อนไข ในฐานะหน่วยงานรัฐของประชาชนและนายจ้างของข้าราชการ กทม. การยอมรับและเข้าใจถึงความหลากหลายเป็นก้าวที่สำคัญสำหรับภาครัฐไทยให้ทัดเทียมกับภาคเอกชนหรือเครือข่ายต่าง ๆ นอกจากเรื่องความหลากหลายทางเพศวิถีแล้วยังมีเรื่องความเท่าเทียมทางเพศ ซึ่งเป็นหัวใจหลักที่หน่วยงานกทม. ต้องให้ความสำคัญ ในฐานะที่ กทม.เป็นเจ้าบ้านและนายจ้าง กทม.สามารถริเริ่มการยอมรับโดยไม่มีเงื่อนไขในสังคมและสนับสนุนความเท่าเทียมได้ โดยกำหนดหลักธรรมาภิบาลของหน่วยงานใน กทม. อบรมให้เจ้าหน้าที่ภายในหน่วยงานของ กทม.ปฏิบัติต่อเจ้าหน้าที่และประชาชน

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :

    5.เป้าหมาย :ร้อยละ : 100

    6.Action Plan :1. กำหนดมาตรการเพื่อส่งเสริมให้เกิดความเท่าเทียมทางเพศ

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 016 : ป้ายรถเมล์มีข้อมูลและสว่างปลอดภัยทุกป้าย 0 0 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 0 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : สจส. // หน่วยงานสนับสนุน สนข.

    2.ประชาชนได้อะไร :- เดินทางได้สะดวกยิ่งขึ้นเนื่องจากมีจุดเชื่อมต่อการเดินทางที่สะดวก ไม่เปียก ไม่ร้อน ปลอดภัย มีข้อมูลเชื่อมต่อกับทุกระบบทั้งส่วนตัวและสาธารณะ

    3.กทม.จะทำอย่างไร :กรุงเทพฯ ไม่เคยมีจุดเปลี่ยนถ่ายการเดินทางอย่างเป็นระบบมาก่อน ไม่ว่าจะเป็น - การเชื่อมต่อระหว่างขนส่งสาธารณะ รถสองแถว รถเมล์ รถไฟฟ้า เรือ จากสายหนึ่งไปสู่อีกสายหนึ่ง - การเชื่อมต่อจากขนส่งสาธารณะสู่ แท็กซี่ หรือวินมอเตอร์ไซค์ - การเชื่อมต่อจากจักรยานสู่ขนส่งสาธารณะ - การจอดรถรับ-ส่งของรถส่วนตัวให้ไม่รบกวนการจราจร แม้ปัจจุบันเอกชนจะเริ่มมีการพัฒนาพื้นที่ของตัวเองให้เกิดจุดเชื่อมต่อการเดินทางบ้างแล้ว เช่น เมกาบางนา หรือเซ็นทรัลพระราม 2 ที่จะเป็นจุดจอดสำหรับรถเมล์ที่ต้นสายอยู่ ณ สถานที่นั้น แต่รถเมล์สายอื่นที่ผ่านก็ไม่ได้เข้ามาจอดในจุดเชื่อมต่อทำให้ยังไม่เกิดเป็นพื้นที่เชื่อมต่อ (hub) โดยสมบูรณ์ ดังนั้น กทม.จะนำร่องพัฒนาจุดเชื่อมต่อการเดินทางที่เชื่อมต่อการเดินทางทั้งระบบ ระหว่างขนส่งสาธารณะสู่ขนส่งสาธารณะ หรือจากรถส่วนตัวสู่ขนส่งสาธารณะ เพื่อความสะดวกในการเดินทาง ได้มาตรฐาน Universal Design ทุกคนใช้งานได้ และลดผลกระทบจากสภาพอากาศ พร้อมมีข้อมูลแนะนำในการเชื่อมต่ออย่างครบถ้วน

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :ร้อยละของป้ายรถเมล์ที่ได้รับการปรับปรุง - บำรุงรักษาและทำความสะอาดศาลาที่พักผู้โดยสาร (เดิม) และดำเนินการปรับปรุงป้ายรถเมย์นำร่อง 50 ป้าย ภายใน 100 วัน ปรับปรุงป้ายรถเมล์ทั่วกรุง เพื่อส่งเสริมและเพิ่มโอกาสในการที่ประชาชนจะเลือกเดินทางด้วยรถเมล์ โดย 1. ให้ข้อมูล 1.1 สายรถเมล์ที่ผ่านป้ายนั้น ๆ 1.2 ข้อมูลเส้นทางเดินรถแต่ละสาย 1.3 ข้อมูลจุดเชื่อมต่อ 1.4 ข้อมูลรถคันสุดท้าย 1.5 พิจารณาการให้ข้อมูลแบบเรียลไทม์พร้อมการคาดการณ์เวลาที่รถเมล์จะมาถึงที่ป้ายรถเมล์ใหม่ 2. เพิ่มแสงสว่าง ทั้งที่ตัวป้ายเอง และบริเวณโดยรอบ 3. ติดตั้ง CCTV เพื่อดูแลความปลอดภัย 5. ออกแบบป้ายรถเมล์ให้มีรูปแบบที่หลากหลายเหมาะสมกับบริบทพื้นที่และขนาดทางเท้าที่แตกต่างกัน 6. กำหนดรอบการดูแลและบำรุงรักษาป้ายรถเมล์ให้พร้อมใช้งานเสมอ 7. พิจารณาการทำงานร่วมกับภาคประชาสังคมที่ผลักดันเรื่องรถเมล์และป้ายรถเมล์ให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาป้ายรถเมล์นี้

    5.เป้าหมาย :ร้อยละ : 100

    6.Action Plan :- ศึกษาการปรับปรุงป้ายรถเมล์ให้มีข้อมูลที่มีประโยชน์และรูปแบบทันสมัย - อยู่ในขั้นตอนดำเนินงานตามสัญญา (16 กุมภาพันธ์ 2565 – 15 กุมภาพันธ์ 2566) ดำเนินการแล้ว 25% คาดว่าจะแล้วเสร็จ วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2566

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 075 : ขอดูภาพจากกล้อง CCTV ออนไลน์ได้สะดวกรวดเร็ว 0 1 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 1 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : สจส. // หน่วยงานสนับสนุน -

    2.ประชาชนได้อะไร :- สะดวกยิ่งขึ้นเมื่อต้องติดต่อขอภาพ CCTV จาก กทม. ลดความซ้ำซ้อนของขั้นตอนดำเนินการ - ประชาชนเข้าถึงความปลอดภัยได้ดียิ่งขึ้น

    3.กทม.จะทำอย่างไร :กทม.จะดำเนินการเกี่ยวกับการขอดูภาพ CCTV ดังนี้ 1. เพิ่มช่องทางการดำเนินการขอภาพ CCTV ผ่านระบบออนไลน์ กทม. 1.1 หาเลขกล้อง CCTV ได้ผ่านระบบออนไลน์ ไม่ต้องลงสำรวจ ณ จุดเกิเดเหตุ 1.2 แจ้งความที่สถานีตำรวจในท้องที่ที่เกิดเหตุ 1.3 กรอกและส่งเอกสารทั้งหมดผ่านระบบออนไลน์ของ กทม.และรอรับภาพทางออน์ไลน์ 2. ศึกษาความเป็นไปได้ในการประสานงานร่วมกับตำรวจ ในการส่งต่อข้อมูลลดขั้นตอนการขอภาพของประชาชน 2.1 หาเลขกล้อง CCTV ได้ผ่านระบบออนไลน์ ไม่ต้องลงสำรวจ ณ จุดเกิดเหตุ 2.2 แจ้งความที่สถานีตำรวจในท้องที่ที่เกิดเหตุ และตำรวจประสานงานส่งต่อเอกสารกับ กทม. 2.3 กทม.จัดส่งภาพ CCTV ให้ประชาชนผ่านระบบออนไลน์โดยที่ประชาชนไม่ต้องติดต่อ กทม.

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :

    5.เป้าหมาย :วัน : 1

    6.Action Plan :1. โครงการปรับปรุงเวปไซต์การยื่นขอคัดลอกภาพแบบออนไลน์ 2. โครงการปรับปรุงเวปไซต์การยื่นขอคัดลอกภาพแบบออนไลน์ ระยะที่ 2 (เพิ่มแผนที่และพิกัดกล้อง)

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 076 : ยกระดับคุณภาพกล้องวงจรปิด ป้องกันอาชญากรรมเชิงรุก 0 0 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 0 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : // หน่วยงานสนับสนุน

    2.ประชาชนได้อะไร :เพิ่มประสิทธิภาพในการคาดการณ์ ติดตาม และแก้ไขหรือระงับการเกิดเหตุอาชญากรรม

    3.กทม.จะทำอย่างไร :- ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการวิเคราะห์ข้อมูลภาพที่สามารถช่วยในการเพิ่มประสิทธิภาพของกล้องวงจรปิดในมิติของการป้องกันเหตุไม่คาดฝันต่าง ๆ เช่น การช่วยตรวจสอบข้อบกพร่องในสภาพแวดล้อมของเมือง หรือการวิเคราะห์ภาพเมื่อมีลักษณะคล้ายกับการทะเลาะวิวาท การทำร้ายร่างกาย - ศึกษาความเป็นไปได้ให้มีการเชื่อมต่อข้อมูลภาพและระบบกล้องวงจรปิดป้องกันอาชญากรรมของกองบัญชาการตำรวจนครบาล และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - ศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้เทคโนโลยีวิเคราะห์ภาพใบหน้าแบบเรียลไทม์ในการเฝ้าระวังเหตุอาชญากรรม บุคคลอันตรายร้ายแรง โดยเฉพาะในพื้นที่ย่านเศรษฐกิจ และย่านชุมชนที่มีความหนาแน่นของประชากรสูง

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :

    5.เป้าหมาย :ร้อยละ : 100

    6.Action Plan :

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 077 : กำหนดค่ามาตรฐานความสว่างป้ายโฆษณา 0 0 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 0 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : สนย. // หน่วยงานสนับสนุน สนข.

    2.ประชาชนได้อะไร :มีมาตรฐานอ้างอิงการควบคุมความสว่างของพื้นที่ต่างๆ ของเมือง ลดมลภาวะทางแสงที่เกินจำเป็นจากแหล่งกำเนิดแสงต่างๆ ในเขตกรุงเทพมหานคร

    3.กทม.จะทำอย่างไร :จัดทำค่ามาตรฐาน และมาตรการระดับต่างๆในการควบคุมค่าความสว่างของแหล่งกำเนิดแสง ป้ายโฆษณาของเมืองโดยรวม ให้เป็นมิตรกับประชาชนผู้สัญจรและผู้อยู่อาศัย

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :ปี 2566 ร้อยละ 100 ของความสำเร็จในการจัดทำค่ามาตรฐานความสว่างของแหล่งกำเนิดแสงของป้ายโฆษณา LED ปี 2567-2569 ร้อยละ 100 ของความสำเร็จในการแก้ไขป้ายโฆษณาที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐาน หมายเหตุ สนย. กำหนดขั้นตอนงานเป็นร้อยละ เพื่อการติดตามและรายงานผล จัดทำค่ามาตรฐานและมาตรการระดับต่าง ๆ ในการควบคุมค่าความสว่างของแหล่งกำเนิดแสงของป้ายโฆษณา LED โดยผลที่ได้ ค่ามาตรฐานและมาตรการของความสว่างของแหล่งกำเนิดแสงของป้ายโฆษณา LED 1. จัดทำค่ามาตรฐาน และมาตรการระดับต่างๆ ในการควบคุมค่าความสว่างของแหล่งกำเนิดแสง ป้ายโฆษณาของเมืองโดยรวม ให้เป็นมิตรกับประชาชนผู้สัญจรและผู้อยู่อาศัย 2. กำหนดให้เจ้าหน้าที่ กทม.มีหน้าที่ดำเนินตรวจสอบติดตามให้ความสว่างของป้ายให้ตามมาตรการที่กำหนด

    5.เป้าหมาย :ร้อยละ : 100

    6.Action Plan :1. กิจกรรมแต่งตั้งคณะทำงานในการศึกษาจัดทำค่ามาตรฐานและมาตรการระดับต่างๆ ในการควบคุมค่าความสว่างของแหล่งกำเนิดแสงของป้ายโฆษณา LED

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 078 : ใช้ข้อมูลอาชญากรรมกำหนดพิกัดอันตราย เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้ปลอดภัย 0 1 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 1 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : สนท. // หน่วยงานสนับสนุน สจส., สนข., สนย.

    2.ประชาชนได้อะไร :ลดและแก้ไขปรับปรุงสภาพแวดล้อมที่ทำให้เกิดความกลัว และความเสี่ยงอาชญากรรมได้อย่างทันท่วงที มีการสอดส่องดูแลเพิ่มเติมนอกเหนือจากเจ้าหน้าที่ตำรวจ

    3.กทม.จะทำอย่างไร :รวบรวมข้อมูลสถิติอาชญากรรมและข้อมูลการรายงานจุดเสี่ยงที่รวบรวมมาจากฐานข้อมูลในแผนที่ความเสี่ยงกรุงเทพฯ (Bangkok Risk Map)

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :

    5.เป้าหมาย :พื้นที่เขต : 50

    6.Action Plan :1. โครงการบูรณาการผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยเชิงพื้นที่

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 079 : พัฒนาบัญชีอุปกรณ์ในการเผชิญเหตุสาธารณภัยฉุกเฉินระดับย่าน 0 0 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 0 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : สปภ. // หน่วยงานสนับสนุน สนข.

    2.ประชาชนได้อะไร :เพิ่มความปลอดภัยทั้งย่านจากการเข้าถึงอุปกรณ์ระงับเหตุ

    3.กทม.จะทำอย่างไร :- พัฒนาบัญชีอุปกรณ์ดับเพลิงในระดับย่าน เพื่อให้ทราบถึงประเภท จำนวน และตำแหน่งที่อยู่ของอุปกรณ์ - ใช้บัญชีดังกล่าวในการสำรวจความพร้อมของอุปกรณ์ ทำการทบทวนให้รายการอุปกรณ์มีความเที่ยงตรงกับความเป็นจริง ใช้งานได้อยู่เสมอ - สนับสนุนการเพิ่มเติม ซ่อมแซม หมุนเวียนอุปกรณ์ที่ขาดตกบกพร่อง - เมื่อเกิดเหตุผู้อยู่อาศัยในย่าน อปพร. อาสาสมัครกู้ภัย และเจ้าหน้าที่ สปภ. ตรวจสอบและเรียกใช้อุปกรณ์ในละแวกใกล้เคียง สามารถเข้าถึงอุปกรณ์ได้ทันท่วงทีเพื่อลดความสูญเสีย และเพิ่มประสิทธิภาพการระงับเหตุ

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :มีระบบบัญชีอุปกรณ์ระงับเหตุสาธารณภัยฉุกเฉินระดับเขตแบบออนไลน์

    5.เป้าหมาย :ระบบ : 1

    6.Action Plan :1. กิจกรรมการสำรวจ รวบรวมและจัดทำฐานข้อมูลด้านสาธารณภัย 2. กิจกรรมการพัฒนาบัญชีอุปกรณ์ฯ ให้สามารถใช้งานได้แบบออนไลน์

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 080 : เพิ่มประปาหัวแดง โดยเฉพาะเขตที่อยู่อาศัยหนาแน่น 0 0 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 0 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : สปภ. // หน่วยงานสนับสนุน สนข.

    2.ประชาชนได้อะไร :ปลอดภัยมากขึ้นจากการที่สามารถลดเวลาในการเข้าระงับเหตุ จำกัดวงความเสียหาย และลดข้อจำกัดในการเข้าถึงของยานพาหนะบรรทุกน้ำขนาดใหญ่

    3.กทม.จะทำอย่างไร :- เพิ่มจำนวนประปาหัวแดง โดยเฉพาะในเขตเมืองขยายในบริเวณกรุงเทพฯ ชั้นกลาง กรุงเทพฯ ชั้นนอก และชุมชนแออัดตรอกซอกซอย ในบริเวณพื้นที่ชั้นในที่ยังขาดการติดตั้ง และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการตรวจสอบสถานะความพร้อมของประปาหัวแดงในจุดต่าง ๆ เช่น การติดเซนเซอร์ - ตรวจสอบสถานะและสภาพความพร้อมในการใช้งานอยู่เสมอ โดยพิจารณาศึกษาการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เช่น การติดเซนเซอร์เพื่อติดตามตรวจสอบสถานะความพร้อมของประปาหัวแดงจุดต่าง ๆ

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :ร้อยละความครอบคลุมของประปาหัวแดงตามมาตรฐาน (เขตเมืองต้องมีทุก 200 เมตร และพื้นที่รอบนอกต้องมีทุก 500 เมตร)

    5.เป้าหมาย :ร้อยละ : 100

    6.Action Plan :1. กิจกรรมตรวจสอบจำนวนและตรวจสภาพความพร้อมในการใช้งานของประปาหัวแดงในพื้นที่กรุงเทพมหานคร 2. กิจกรรมสำรวจความต้องการติดตั้งประปาหัวแดงเพิ่มเติม

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 081 : จัดหายานพาหนะเพื่อดับเพลิงในที่คับแคบ 0 0 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 0 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : สปภ. // หน่วยงานสนับสนุน -

    2.ประชาชนได้อะไร :การเข้าระงับเหตุอย่างรวดเร็ว ลดความเสียหายและความสูญเสีย

    3.กทม.จะทำอย่างไร :จัดหารถดับเพลิงขนาดเล็ก เรือดับเพลิงขนาดเล็ก หรืออุปกรณ์เครื่องลากจูงหาบหาม ที่มีความจุน้ำ ปั๊มน้ำ และอุปกรณ์การระงับเหตุและช่วยเหลือขั้นเบื้องต้นในการเผชิญเหตุอัคคีภัยและสาธารณภัย ที่สามารถเพิ่มความคล่องตัว และลดระยะเวลาในการเข้าระงับเหตุให้ได้ตามมาตรฐานสากล

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :ร้อยละความครอบคลุมของยานพาหนะขนาดเล็กและอุปกรณ์การระงับเหตุเบื้องต้น

    5.เป้าหมาย :ร้อยละ : 100

    6.Action Plan :1. กิจกรรมการสำรวจและจัดทำบัญชียานพาหนะและอุปกรณ์ที่จำเป็นต้องใช้ในการดับเพลิงในที่คับแคบ

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 082 : พัฒนาหลักสูตรและการฝึกอบรมให้ผู้ปฏิบัติงานสาธารณภัย 0 1 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 1 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : // หน่วยงานสนับสนุน

    2.ประชาชนได้อะไร :ผู้ปฏิบัติงานมีทักษะครอบคลุมในการกู้ภัย และช่วยชีวิต ลดความสูญเสีย

    3.กทม.จะทำอย่างไร :พัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมกับเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน อาสาสมัคร ให้มีความสามารถในการรับมือสอดคล้องกับบริบทของเมือง

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :ร้อยละผู้ปฏิบัติงานสาธารณภัยมีทักษะการกู้ภัยและช่วยชีวิตเพิ่มขึ้น

    5.เป้าหมาย :ร้อยละ : 100

    6.Action Plan :

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 083 : พัฒนาฐานข้อมูลดิจิทัลแบบก่อสร้างและแปลนอาคารสนับสนุนการเผชิญเหตุให้มีประสิทธิภาพ 0 0 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 0 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : // หน่วยงานสนับสนุน

    2.ประชาชนได้อะไร :- ลดขั้นตอนในการทำงานเฉพาะหน้า เพิ่มความคล่องตัวในการระงับเหตุ ลดความสูญเสีย

    3.กทม.จะทำอย่างไร :- ยกระดับฐานข้อมูลอาคารสู่ระบบดิจิทัลเพื่อลดขั้นตอนในการทำสำเนา เพิ่มความคล่องตัวในการเรียกดูข้อมูลของเจ้าหน้าที่ในยามคับขัน

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :ปี 2566 ร้อยละ 100 ของความสำเร็จการจัดทำฐานข้อมูลดิจิทัลแบบก่อสร้างและแปลนอาคาร ปี 2567 ร้อยละ 100 ของความสำเร็จในการเชื่อมโยงข้อมูลให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ปี 2568 ร้อยละ 100 ของการจัดทำแผนความเสี่ยงและดำเนินการอาคารเสี่ยงให้ดำเนินการถูกต้อง หมายเหตุ สนย.กำหนดขั้นตอนงานแต่ละปีเป็นร้อยละ เพื่อการรายงานและติดตามผล กทม.จะยกระดับฐานข้อมูลอาคารสู่ระบบดิจิทัลเพื่อลดขั้นตอนในการทำสำเนา เพิ่มความคล่องตัวในการเรียกดูข้อมูลของเจ้าหน้าที่ในยามคับขัน โดย 1. นำข้อมูลแบบอาคารเข้าสู่ระบบออนไลน์ 2. ผลักดันให้อาคารใหม่ ๆ ส่งข้อมูลแบบอาคารในรูปแบบออนไลน์ 2. เมื่อเกิดเหตุสาธารณภัย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการเผชิญสาธารณภัยสามารถเรียกดูข้อมูลออนไลน์ เพื่อวางแผนการกู้ภัยได้ 4. เชื่อมต่อฐานข้อมูลแบบอาคารออนไลน์กับฐานข้อมูลของหน่วยงานเผชิญสาธารณภัยต่าง ๆ

    5.เป้าหมาย :ร้อยละ : 100

    6.Action Plan :

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 085 : ช่วยเหลือเยียวยาผู้ประสบภัยและเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการเชิงรุก 0 1 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 1 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : // หน่วยงานสนับสนุน

    2.ประชาชนได้อะไร :ลดและยับยั้งผลกระทบทางสุขภาพของประชาชนและผู้ปฏิบัติงานเมื่อเกิดเหตุภัยพิบัติ

    3.กทม.จะทำอย่างไร :- การจัดหาที่พักพิงชั่วคราว - การจัดสรรเงินสงเคราะห์ การเยียวยาความเสียหายของทรัพย์สิน ตลอดจน - การตรวจสุขภาพต่อเนื่องแก่ผู้เสียหาย ผู้ได้รับผลกระทบ และเจ้าหน้าที่ปฏิบัติการ

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :ร้อยละของผู้ประสบภัยที่ได้รับการช่วยเหลือและเยียวยาภายในระยะเวลาที่กำหนด

    5.เป้าหมาย :ร้อยละ : 100

    6.Action Plan :

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 086 : ผลักดันการจัดตั้งศูนย์ฝึกอบรมด้านการบรรเทาสาธารณภัย 0 0 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 0 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : สปภ. // หน่วยงานสนับสนุน สนย.

    2.ประชาชนได้อะไร :ลดงบประมาณในการฝึกฝนเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยรายบุคคลในระยะยาว และเมืองมีความปลอดภัยมากขึ้นจากการที่บุคลากรมีประสิทธิภาพในการระงับเหตุสาธารณภัยและอัคคีภัย

    3.กทม.จะทำอย่างไร :- ผลักดันโครงการก่อสร้างให้สำเร็จตามแผน - จัดเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร หลักสูตรการฝึก เพื่อให้ครอบคลุมสาธารณภัยทุกรูปแบบ และพร้อมสำหรับการฝึกหลายระดับ ทั้งระดับเจ้าหน้าที่และอาสาสมัคร

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :

    5.เป้าหมาย :ร้อยละ : 100

    6.Action Plan :1. โครงการก่อสร้างศูนย์ฝึกอบรมดับเพลิงและกู้ภัยกรุงเทพมหานคร - ระยะที่ 1 งบประมาณ 685,300,000.- บาท - ระยะที่ 2 งบประมาณ 1,600,000,000.- บาท - ระยะที่ 3 งบประมาณ 402,890,000.- บาท

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 087 : ซ้อมการเผชิญเหตุให้ครอบคลุมทุกระดับ ทั้งประชาชนและเจ้าหน้าที่ 0 1 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 1 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : สปภ. // หน่วยงานสนับสนุน ทุกหน่วยงาน

    2.ประชาชนได้อะไร :- ประชาชนมีความพร้อม รู้ขั้นตอนการปฏิบัติตัวเมื่อเกิดสาธารณภัยหรืออัคคีภัย - กลุ่มเปราะบางมีการฝึกฝนการปฏิบัติตัวในการเอาตัวรอดให้ปลอดภัย - เจ้าหน้าที่ด้านความปลอดภัยมีความพร้อมในการระงับเหตุในพื้นที่ต่างๆ กับเหตุการณ์รูปแบบที่หลากหลาย - เจ้าหน้าที่ระดับบริหารมีความคุ้นเคยกับขั้นตอน หน้าที่ และในการบริหารจัดการระงับเหตุ และสถานการณ์ฉุกเฉินต่าง ๆ

    3.กทม.จะทำอย่างไร :- ฝึกฝนประชาชนในการเผชิญสาธารณภัย เพื่อสร้างความตระหนักถึงข้อปฏิบัติในการระงับเหตุเบื้องต้น การเอาตัวรอดจากสถานการณ์ต่าง ๆ ความคุ้นชินกับสถานที่ - ฝึกฝน รวมถึงพัฒนาหลักสูตรในการเอาตัวรอด ที่เหมาะสมกับกลุ่มเปราะบางต่าง ๆ เช่น นักเรียนประถม-มัธยม ครอบครัวเด็กอ่อน ชุมชนแออัด อาคารชุดสูง หรือผู้ป่วยติดเตียงและผู้ดูแล โดยให้มีการฝึกฝนเป็นประจำทุกปี มีการสาธิตเหตุการณ์และฝึกการภาคปฏิบัติ อย่างทั่วถึง - จัดให้มีการซักซ้อมระหว่างเจ้าหน้าที่ อาสาสมัคร ผู้ปฏิบัติงานภาคสนามในภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อให้มีความคล่องตัว เพิ่มความต่อเนื่อง ลดข้อจำกัดระหว่างหน่วยงานที่ต้องปฏิบัติการแข่งกับเวลา - ฝึกฝนการบูรณาการระหว่างผู้บัญชาการสถานการณ์ (ผู้อำนวยการเขต หรือผู้ว่าราชการจังหวัด) และทีมงานสนับสนุน (ศูนย์อำนวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และ Situation Awareness Team : SAT และ Damage Assessment and Needs Analysis : DANA) ทั้งในระดับเขตและระดับจังหวัด เพื่อบริหารจัดการสถานการณ์เฉพาะหน้า และประสานงานระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :จำนวนครั้งของการฝึกซ้อมการเผชิญเหตุในแต่ละปี (ตามระดับความรุนแรงของสาธารณภัย)

    5.เป้าหมาย :ครั้ง/ปี : 2

    6.Action Plan :1. กิจกรรมการฝึกอบรมฝึกซ้อมอพยพหนีไฟให้แก่หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และประชาชนในชุมชน 2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์สร้างความตระหนักรู้ในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแก่เด็กนักเรียนและประชาชน

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 088 : ใช้ CCTV กวดขันวินัยจราจร 0 1 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 1 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : สจส. // หน่วยงานสนับสนุน สนข.

    2.ประชาชนได้อะไร :- ความปลอดภัยในการเดินทาง การใช้รถใช้ถนนเพิ่มขึ้นจากการกวดขันที่เข้มข้นขึ้น

    3.กทม.จะทำอย่างไร :กทม.จึงต้องบูรณาการนำกล้องวงจรปิดและเทคโนโลยีวิเคราะห์ภาพมาใช้ในวงกว้างเพื่อบังคับใช้กฎระเบียบ และกวดขันวินัยจราจรอย่างเคร่งครัดโดยใช้ระบบปฏิบัติการในการวิเคราะห์ และส่งต่อข้อมูลเพื่อจับ/ปรับผู้กระทำผิดอัตโนมัติ ตั้งแต่การตรวจจับความเร็ว การหยุดชะลอรถตรงทางข้าม รวมถึงการขยายการใช้งานไปยังกล้องวงจรปิดบนทางเท้า โดยติดตั้งกล้องในทิศทางที่สามารถบันทึกทะเบียนรถได้อย่างชัดเจน ในการเพิ่มประสิทธิภาพการตามจับ/ปรับรถจักรยานยนต์และรถยนต์ที่ฝ่าฝืนกฎการจราจร เช่น การจอดขวางทางเท้า การจอดในที่ห้ามจอด ขับขี่สวนทาง การไม่เคารพสัญญาณไฟและเครื่องหมายจราจร การขับขี่รถบนทางเท้า การขับรถเร็วกว่าที่กฎหมายกำหนด ที่อาจส่งผลต่อชีวิตและทรัพย์สินของผู้ร่วมสัญจรได้

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :-ร้อยละของทางแยกได้รับการติดตั้ง CCTV เพื่อตรวจจับผู้ฝ่าฝืนกฏจราจร -จำนวนสถิติการตรวจจับผู้กระทำความผิดกฏจราจรได้มากขึ้น จำนวนกล้อง CCTV เพื่อกวดขันวินัยจราจร ที่ดำเนินการติดตั้ง บูรณาการนำกล้องวงจรปิดและเทคโนโลยีวิเคราะห์ภาพมาใช้ในวงกว้างเพื่อบังคับใช้กฎระเบียบ และกวดขันวินัยจราจรอย่างเคร่งครัดโดยใช้ระบบปฏิบัติการในการวิเคราะห์ และส่งต่อข้อมูลเพื่อจับ/ปรับผู้กระทำผิดอัตโนมัติ (ตั้งแต่การตรวจจับความเร็ว การหยุดชะลอรถตรงทางข้าม รวมถึงการขยายการใช้งานไปยังกล้องวงจรปิดบนทางเท้า โดยติดตั้งกล้องในทิศทางที่สามารถบันทึกทะเบียนรถได้อย่างชัดเจน ในการเพิ่มประสิทธิภาพการตามจับ/ปรับรถจักรยานยนต์และรถยนต์ที่ฝ่าฝืนกฎการจราจร เช่น การจอดขวางทางเท้า การจอดในที่ห้ามจอด ขับขี่สวนทาง การไม่เคารพสัญญาณไฟและเครื่องหมายจราจร การขับขี่รถบนทางเท้า การขับรถเร็วกว่าที่กฎหมายกำหนด ที่อาจส่งผลต่อชีวิตและทรัพย์สินของผู้ร่วมสัญจรได้)

    5.เป้าหมาย :กล้อง : 97

    6.Action Plan :1. โครงการกวดขันรถยนต์ รถจักรยานยนต์ จอดหรือขับขี่บนทางเท้า 2. โครงการจัดหาพร้อมติดตั้งระบบกล้องโทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) เพื่อบริหารจัดการการฝ่าฝืนกฎหมายของยานพาหนะบนทางเท้าในเส้นทางพื้นที่กลุ่มกรุงเทพใต้

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 089 : ตรวจสอบและปรับปรุงทางข้ามทั้งกรุงเทพฯ ให้ได้มาตรฐานความปลอดภัย 0 1 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 1 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : // หน่วยงานสนับสนุน

    2.ประชาชนได้อะไร :- ความปลอดภัยในการเดินเท้าเพิ่มมากขึ้น - กายภาพถนน ทางข้ามรูปแบบต่างๆ และสภาพแวดล้อมมีความเป็นมิตรต่อการเดินมากขึ้น

    3.กทม.จะทำอย่างไร :เพื่อคุ้มครองสิทธิพื้นฐานในการเดินเท้าของประชาชนทุกคน กทม. จึงจะปรับปรุงทางข้ามให้มีความปลอดภัย ดังนี้ 1. ทาสีแถบทางข้ามให้ชัดเจน เห็นได้จากระยะไกล 2. กำหนดเขตชะลอและหยุดรถ 3. ติดตั้งแสงสว่างให้เพียงพอ 4. ติดตั้งสัญญาณไฟกะพริบ 5. ติดตั้งกล้อง CCTV 6. ติดตั้งป้ายสัญญาแสดงความเร็วยานพาหนะ และความเร็วที่กำหนด 7. จุดที่มีคนข้ามจำนวนมากและถนนหลัก ติดตั้งสัญญาณไฟทางข้ามชนิดปุ่มกดพร้อมเสียงเตือน 8. กำหนดรอบการดูแลและบำรุงรักษาองค์ประกอบต่าง ๆ ที่ทางข้ามให้พร้อมอยู่เสมอ 9. พิจารณาเพิ่มทางข้ามบริเวณที่มีปริมาณการข้ามถนนสูงแต่ไม่มีทางม้าลาย เช่น บริเวณสถานศึกษา ตลาด สวนสาธารณะ เป็นต้น นอกจากนี้ กทม. ยังจะต้องเน้นให้ความสำคัญกับการพิจารณาการทำทางข้ามถนนที่สามารถใช้ได้ทุกคน ทุกสภาพร่างกาย (ยกเว้นพื้นที่ที่มีข้อจำกัดด้านการจราจร เช่น ถนนที่มีขนาดใหญ่ มีความเร็วรถสูง)

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :- ร้อยละของทางข้ามทั่วกรุงเทพฯ ได้รับการปรับปรุงเป็นไปตามมาตรฐานความปลอดภัยสำหรับประชาชน - จำนวนสถิติอุบัติเหตุในบริเวณทางข้ามถนนลดลง จำนวน 136 ทางข้าม ติดตั้งปุ่มกด 86 เเห่ง ติดตั้งไฟกระพรับเตือน 50 เเห่ง

    5.เป้าหมาย :ร้อยละ : 100

    6.Action Plan :

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 090 : ปลูกฝังจิตสำนึก ส่งเสริมการสร้างระเบียบ กวดขันวินัยจราจรอย่างเข้มงวด 0 3 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 3 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : // หน่วยงานสนับสนุน

    2.ประชาชนได้อะไร :วินัยจราจรเป็นระเบียบมากขึ้น มีตัวอย่างชัดเจนของเจ้าหน้าที่ กทม.ในการรณรงค์กวดขันระเบียบวินัยการจราจร

    3.กทม.จะทำอย่างไร :กทม.จะรณรงค์จิตสำนึกวินัยจราจร กฎหมายจราจร ระเบียบการใช้ยานพาหนะโดยเริ่มจาก 4 ส่วน ประสานความร่วมมือเพื่อให้เกิดคุณลักษณะการขับขี่ที่มีวินัย ปลอดภัย เป็นวงกว้าง 1. โรงเรียน ให้มีการอบรม ให้ความรู้ ปลูกฝั่งระเบียบวินัยจราจร ตั้งแต่ระดับเด็กและเยาวชน 2. เจ้าหน้าที่หน่วยงานและลูกจ้างในสังกัด กทม. 3. ขนส่งมวลชนในการกำกับดูแลของรัฐ รถเมล์ รถแท็กซี่ วินมอเตอร์ไซค์ 4. บริษัทขนส่ง เดินทาง ส่งอาหารต่างๆ

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :จำนวนสถิติบาดเจ็บและเสียชีวิตจากการกระทำผิดกฏจราจรลดลงจากปีที่ผ่านมา รณรงค์จิตสำนึกวินัยจราจร กฎหมายจราจร ระเบียบการใช้ยานพาหนะโดยเริ่มจาก 4 ส่วน ประสานความร่วมมือเพื่อให้เกิดคุณลักษณะการขับขี่ที่มีวินัย ปลอดภัย เป็นวงกว้าง 1. โรงเรียน ให้มีการอบรม ให้ความรู้ ปลูกฝั่งระเบียบวินัยจราจร ตั้งแต่ระดับเด็กและเยาวชน 2. เจ้าหน้าที่หน่วยงานและลูกจ้างในสังกัด กทม. 3. ขนส่งมวลชนในการกำกับดูแลของรัฐ รถเมล์ รถแท็กซี่ วินมอเตอร์ไซค์ 4. บริษัทขนส่ง เดินทาง ส่งอาหารต่างๆ (กยภ.) กำหนดเป้าหมาย proxy เป็นจำนวนครั้งของการรณรงค์เรื่องการขับขี่ปลอดภัยและวินัยจราจร

    5.เป้าหมาย :ครั้ง : 6

    6.Action Plan :

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 091 : ลดความเร็ว ลดความเสี่ยง ในย่านชุมชนและถนนสายรอง 0 3 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 3 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : // หน่วยงานสนับสนุน

    2.ประชาชนได้อะไร :- เขตชุมชน ถนนสายรอง ถนนขนาดเล็ก มีความปลอดภัยในการสัญจรมายิ่งขึ้น

    3.กทม.จะทำอย่างไร :กทม.จึงจะต้องดำเนินการเสริมสร้างความปลอดภัยบนท้องถนนที่มากขึ้น เป็นการส่งเสริมการควบคุมความเร็วที่มีประสิทธิภาพ สัมพันธ์กับทั้งบริบทของเมืองในระดับย่าน เพื่อความปลอดภัย ลดการเกิดอุบัติเหตุและการสูของผู้สัญจร ดังนี้ ผลักดันกฎหมายควบคุมความเร็ว 1. สำนักการจราจรและการขนส่ง กทม. เป็นเจ้าภาพในการออกแบบจัดโซนนิ่ง ประเภทถนนในการกำหนดเขตความเร็วต่ำ เช่น บริเวณย่านชุมชน บริเวณถนนรอง บริเวณย่านจุดเปลี่ยนถ่ายการสัญจร บริเวณย่านธุรกิจเมืองชั้นใน ร่วมกับ ประชาชน ภาคประชาสังคม และตำรวจในฐานหัวหน้าเจ้าพนักงานจราจร ซึ่งสามารถประกาศพื้นที่กำหนดอัตราความเร็วที่ใช้ได้ 2. ผลักดันและประสานงานกับกองบังคับการจราจร และตำรวจนครบาลในการผลักดันให้มีการออกประกาศหัวหน้าเจ้าพนักงานควบคุมความเร็ว ปรับปรุงกายภาพสนับสนุนการขับขี่ตามที่กฎหมายกำหนด 1. ติดตั้งอุปกรณ์ทางกายภาพในการช่วยลดความเร็ว ในย่านความเร็วต่ำเช่น การตีเส้นนูน เส้นทะแยง การปรับลดขนาดเลน ป้ายจำกัดความเร็ว ฯลฯ 2. บูรณาการการใช้กล้องวงจรปิด ในการช่วยลดความเร็วเช่น การติดตั้งไฟกระพริบ สัญญาณเตือน ป้ายบอกความเร็ว รวมถึงการใช้ภาพร่วมในการกวดขันวินัยจราจรและลงโทษผู้ฝ่าฝืนกฎ ร่วมกับตำรวจ เช่น การขับขี่ย้อนศร ขับขี่บนทางเท้า ขับขี่เกินความเร็วที่กำหนด การฝ่าสัญญาณไฟจราจร การจอดในที่ห้ามจอด

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :-ร้อยละของเป้าหมายที่ได้รับการปรับปรุงมาตรการเพื่อลดความเร็ว -สถิติผู้กระทำความผิดจากกรณีความเร็วลดลง สจส. ต้องสรุปข้อมูลจุดเสี่ยงอุบัติเหตุ และจัดทำประกาศกำหนดความเร็วรถ ภายใน 100 วัน -ผลักดันกฎหมายควบคุมความเร็ว 1. สำนักการจราจรและการขนส่ง กทม. เป็นเจ้าภาพในการออกแบบจัดโซนนิ่ง ประเภทถนนในการกำหนดเขตความเร็วต่ำ เช่น บริเวณย่านชุมชน บริเวณถนนรอง บริเวณย่านจุดเปลี่ยนถ่ายการสัญจร บริเวณย่านธุรกิจเมืองชั้นใน ร่วมกับ ประชาชน ภาคประชาสังคม และตำรวจในฐานหัวหน้าเจ้าพนักงานจราจร ซึ่งสามารถประกาศพื้นที่กำหนดอัตราความเร็วที่ใช้ได้ 2. ผลักดันและประสานงานกับกองบังคับการจราจร และตำรวจนครบาลในการผลักดันให้มีการออกประกาศหัวหน้าเจ้าพนักงานควบคุมความเร็ว -ปรับปรุงกายภาพสนับสนุนการขับขี่ตามที่กฎหมายกำหนด 1. ติดตั้งอุปกรณ์ทางกายภาพในการช่วยลดความเร็ว ในย่านความเร็วต่ำเช่น การตีเส้นนูน เส้นทะแยง การปรับลดขนาดเลน ป้ายจำกัดความเร็ว ฯลฯ 2. บูรณาการการใช้กล้องวงจรปิด ในการช่วยลดความเร็วเช่น การติดตั้งไฟกระพริบ สัญญาณเตือน ป้ายบอกความเร็ว รวมถึงการใช้ภาพร่วมในการกวดขันวินัยจราจรและลงโทษผู้ฝ่าฝืนกฎ ร่วมกับตำรวจ เช่น การขับขี่ย้อนศร ขับขี่บนทางเท้า ขับขี่เกินความเร็วที่กำหนด การฝ่าสัญญาณไฟจราจร การจอดในที่ห้ามจอด

    5.เป้าหมาย :ร้อยละ : 100

    6.Action Plan :

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 092 : พนักงาน กทม.ตรวจสอบความพร้อมใช้สาธารณูปโภคเมืองเชิงรุก 0 0 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 0 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : สนท. // หน่วยงานสนับสนุน สนย., สจส., สนข.

    2.ประชาชนได้อะไร :- สภาพแวดล้อมความปลอดภัยของการเดินทางได้รับการตรวจสอบและแก้ไขเป็นประจำ - ลดความเสี่ยงในการเกิดอุบัติเหตุบนท้องถนน

    3.กทม.จะทำอย่างไร :กทม.มีพนักงานที่ปฏิบัติงานในระดับพื้นที่อยู่จำนวนมาก ทั้งพนักงานความสะอาด หรือเจ้าหน้าที่เทศกิจ ซึ่งมีรอบการปฏิบัติงานในพื้นที่ต่าง ๆ ของกรุงเทพมหานคร หมุนเวียนกันไปทั้งกลางวันและกลางคืน พนักงานเหล่านี้จึงทำงานกับสาธารณูปโภคเมืองอยู่แล้ว เพื่อให้กทม. ดูแลสาธารณูปโภคได้ครอบคลุมยิ่งขึ้น กทม.จะมอบหมายหน้าที่ให้เจ้าพนักงานกำหนดหน้าที่รับผิดชอบสิ่งต่าง ๆ โดย 1. กำหนดหน้าที่ในการตรวจสอบและรายงานสภาพถนน แสงสว่าง ทางเท้า การจัดการขยะ และสาธารณูปโภคอื่น ๆ ให้แก่เจ้าหน้าที่ภาคสนาม ของ กทม. 2. จัดเตรียมระบบ และอุปกรณ์เครื่องมือในการรายงานปัญหาต่าง ๆ ให้

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :ตัวชี้วัด ระบบการตรวจสอบและรายงานผลสภาพสาธารณูปโภคที่ชำรุดเสียหายในพื้นที่ (ร้อยละของเรื่องร้องเรียนจากปัญหาโครงสร้างพื้นฐานเมืองลดลง) ตัวชี้วัดระดับนโยบาย บริหารจัดการในภาพรวมให้เจ้าหน้าที่ภาคสนามซึ่งปฏิบัติงานในระดับพื้นที่ ตรวจสอบดูแลสาธารณูปโภค โดย 1. จัดวางระบบการตรวจสอบและรายงานผลสภาพสาธารณูปโภคในพื้นที่ กทม. เช่น ถนน แสงสว่าง ทางเท้า การจัดการขยะ และสาธารณูปโภคอื่น ๆ 2. จัดเตรียมระบบ และอุปกรณ์เครื่องมือในการรายงานปัญหาต่าง ๆ ให้

    5.เป้าหมาย :ระบบการตรวจสอบและรายงานผล : 1

    6.Action Plan :

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 093 : กำหนดหน่วยงานรับผิดชอบโครงสร้างพื้นฐานด้านความปลอดภัยให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ 0 0 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 0 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : สนย. // หน่วยงานสนับสนุน สนข., สวพ., สจส., สนน.

    2.ประชาชนได้อะไร :- โครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภค สาธารณูปการที่ปลอดภัย - การร้องเรียนเกี่ยวกับโครงสร้างพื้นฐานแต่ละครั้งมีผู้รับผิดชอบแน่ชัด

    3.กทม.จะทำอย่างไร :หน่วยงานและพื้นที่โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ต่างมีหน่วยงานในสังกัด กทม.รับผิดชอบอยู่แล้ว เพื่อเป็นการจัดการไม่ให้เกิดการทับซ้อน จนเว้นว่างในการดูแล ซ่อมบำรุง และรับรู้กันโดยสาธารณะ กทม. จะมีการกำหนดและประกาศหน่วยงานที่รับผิดชอบในโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ เช่น ทางข้าม สะพานลอย สะพานและถนน โดยอาจระบุหน่วยงานไว้ในป้ายสัญลักษณ์ต่าง ๆ หรือระบุลงในแผนที่ Dashboard ของกรุงเทพมหานคร เป็นต้น

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :ร้อยละความสำเร็จในการจัดทำแผนที่ GIS ระบุหน่วยงานที่รับผิดชอบสาธารณูปโภคต่าง ๆ ในพื้นที่ กทม. หมายเหตุ : สนย.กำหนดขั้นตอนงานเป็นร้อยละ เพื่อสำหรับการรายงานและติดตามผลงาน (ร้อยละของเรื่องร้องเรียนจากปัญหาโครงสร้างพื้นฐานเมืองลดลง) (ตัวชี้วัดระดับนโยบาย) บูรณาการให้เกิดการประสานสาธารณูปโภคหน่วยงานและพื้นที่โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ มีการกำหนดและประกาศหน่วยงานที่รับผิดชอบในโครงสร้างพื้นฐานต่าง ๆ เช่น ทางข้าม สะพานลอย สะพานและถนน โดยอาจระบุหน่วยงานไว้ในป้ายสัญลักษณ์ต่าง ๆ หรือระบุลงในแผนที่ Dashboard ของกรุงเทพมหานคร เป็นต้น หมายเหตุ สนย.ต้องจัดทำขั้นตอนงาน เป็นร้อยละ เพื่อสำหรับการรายงานผลการดำเนินงาน

    5.เป้าหมาย :ร้อยละ : 100

    6.Action Plan :

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 094 : รณรงค์สิทธิและระเบียบวินัยพลเมืองในเรื่องจราจร ความสะอาด คอร์รัปชั่น สิ่งแวดล้อม 0 2 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 2 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : // หน่วยงานสนับสนุน

    2.ประชาชนได้อะไร :- สังคมที่ประชาชนเคารพในสิทธิของกันและกัน

    3.กทม.จะทำอย่างไร :สร้างจิตสำนึกส่วนรวมในการอยู่ร่วมกัน รักษาสิทธิร่วมกัน และวินัยของพลเมือง ทั้งด้านจราจร ความสะอาด ความโปร่งใส และสิ่งแวดล้อม เช่น การรักษาความสะอาดและสิ่งแวดล้อมเมือง การแยกขยะ การเคารพกฎจราจร ความโปร่งใสและสิทธิในการตรวจสอบ โดยรณรงค์กับทั้งโรงเรียนในสังกัด กทม. เจ้าหน้าที่และบุคลากร อาสาสมัครของกรุงเทพมหานคร และกลุ่มประชาชนที่มีส่วนเกี่ยวข้องเยอะ เช่น - วินมอเตอร์ไซค์ คนขับรถขนส่ง ในมิติจราจร - แม่บ้าน นิติบุคคล ในมิติด้านความสะอาด (การแยกขยะ) - เด็กนักเรียน อบรมในทุก ๆ มิติเพื่อให้เป็นส่วนช่วยสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนกรุงเทพฯ นอกเหนือจากการรณรงค์แล้ว กทม. จะปรับปรุงการออกแบบเมืองควบคู่ไปด้วยเพื่อช่วยเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชน เช่น - การออกแบบมาตรฐาน สี รูปแบบของถังขยะใหม่ เพื่อให้ประชาชนเข้าใจการแยกขยะมากยิ่งขึ้น เช่น จุดเทน้ำทิ้งคู่กับที่ทิ้งแก้วพลาสติก จุดวางไม้เสียบลูกชิ้น - เพิ่มความสว่าง เพิ่มสัญญาณเตือน และจัดการกับสิ่งปลูกสร้างที่กีดขวางทำให้มองไม่เห็นผู้ข้าม

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :-ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายที่กำหนดมีการจัดกิจกรรมต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 1 ปี สร้างจิตสำนึกส่วนรวมในการอยู่ร่วมกัน รักษาสิทธิร่วมกัน และวินัยของพลเมือง 1) ด้านจราจร 2) ความสะอาด 3) ความโปร่งใส และ 4) สิ่งแวดล้อม โดยรณรงค์กับทั้ง 1. โรงเรียนในสังกัด กทม. เจ้าหน้าที่และบุคลากร อาสาสมัครของกรุงเทพมหานคร 2. กลุ่มประชาชน เช่น - วินมอเตอร์ไซค์ คนขับรถขนส่ง ในมิติจราจร - แม่บ้าน นิติบุคคล ในมิติด้านความสะอาด (การแยกขยะ) - เด็กนักเรียน อบรมในทุก ๆ มิติเพื่อให้เป็นส่วนช่วยสำคัญในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนกรุงเทพฯ

    5.เป้าหมาย :ร้อยละ : 100

    6.Action Plan :

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 110 : เพิ่มเวลา เพิ่มสิ่งอำนวยความสะดวก เพิ่มการเข้าถึงสวนและพื้นที่สาธารณะ 0 1 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 1 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : สสล. // หน่วยงานสนับสนุน สจส., สนข.

    2.ประชาชนได้อะไร :-พื้นที่สาธารณะปรับเวลาเปิด-ปิดให้สอดคล้องกับความต้องการและการใช้งานของประชาชน -ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานภายในพื้นที่สาธารณะให้ตอบโจทย์ประชาชน -พื้นที่สาธารณะเข้าถึงได้ด้วยขนส่งสาธารณะ

    3.กทม.จะทำอย่างไร :1. ปรับเวลาเปิด-ปิด โดยกระบวนการมีส่วนร่วมกับประชาชนผู้ใช้งานและผู้อยู่อาศัยโดยรอบเพื่อขยายโอกาสการใช้งานให้กับคนทุกกลุ่ม 2. ปรับเวลาเปิด-ปิด โดยกระบวนการมีส่วนร่วมกับประชาชนผู้ใช้งานและผู้อยู่อาศัยโดยรอบเพื่อขยายโอกาสการใช้งานให้กับคนทุกกลุ่ม 3. การจัดสรรพื้นที่ค้าขาย (hawker center) สำหรับหาบเร่แผงลอย ที่กระจายอยู่รอบสวนสาธารณะให้มีการจัดการที่ถูกสุขลักษณะ เป็นระเบียบ มีที่ซักล้าง มีบ่อดักไขมัน เป็นต้น 4. ออกแบบสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเข้าใช้งานพื้นที่สาธารณะ เช่น ป้ายสัญลักษณ์ต่างๆ สภาพทางเดินที่สะดวกและสามารถรองรับจำนวนของผู้คนได้มากพอ และระบบขนส่งสาธารณะพาคนจากชุมชนโดยรอบมายังพื้นที่สาธารณะ

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :

    5.เป้าหมาย :แห่ง : 3

    6.Action Plan :1. กิจกรรมขยายเวลาเปิด-ปิดสวนสาธารณะ 2. โครงการปรับปรุงระบบไฟฟ้าส่องสว่าง 2.1 สวนจตุจักร 2.2 สวนวชิรเบญจทัศ 3. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดระเบียบการค้าหาบเร่ – แผงลอย 4. โครงการลานวชิระปาร์คและพื้นที่สีเขียวใจกลางคณะ

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 137 : ขึ้นทะเบียนสัตว์เลี้ยงตลอดช่วงชีวิต 0 0 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 0 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : // หน่วยงานสนับสนุน

    2.ประชาชนได้อะไร :-เพื่อไม่ให้สภาพแวดล้อมเกิดผลกระทบจากกิจการสัตว์เลี้ยง -มีฐานข้อมูลผู้ประกอบกิจการที่สามารถตรวจประเมินและกำกับดูแลได้อย่างมีประสิทธิภาพ -ลดความเสี่ยงสัตว์เลี้ยงสูญหาย หรือการปล่อยสัตว์เลี้ยงเป็นสัตว์จร

    3.กทม.จะทำอย่างไร :กทม.จะดำเนินการ 3 ส่วนสำคัญ 1. ออกตรวจตรา ขึ้นทะเบียน ดูแลกำกับกิจการที่เกี่ยวกับการเลี้ยงสัตว์ และร้านค้าจำหน่ายสัตว์เลี้ยง 2. ผลักดันการขึ้นทะเบียนสัตว์เลี้ยงตั้งแต่ต้นทาง เพื่อลดความเสี่ยงที่เจ้าของซื้อไปแล้วอาจปล่อยปละสัตว์เลี้ยงให้เป็นสัตว์จร 3. สัตว์เลี้ยงทั้งสุนัขและแมวที่มีเจ้าของดูแลในปัจจุบัน กทม.จะดำเนินการทยอยเปิดขึ้นทะเบียนฝังชิป

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :ข้อมูลเขตที่ได้รับการสำรวจฟาร์มเลี้ยงสัตว์ร้านค้าจำหน่ายสัตว์เลี้ยง

    5.เป้าหมาย :เขต : 50

    6.Action Plan :

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 138 : จัดระเบียบสัตว์จร แก้ปัญหาผ่านการจัดการอย่างเป็นระบบ 0 0 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 0 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : // หน่วยงานสนับสนุน

    2.ประชาชนได้อะไร :- กรุงเทพฯ จะมีสุนัขและแมวจรลดน้อยลงหลังจากนโยบายทำหมันอย่างจริงจัง หลังจากสัตว์จรจะหมดช่วงอายุขัยตามธรรมชาติ เฉลี่ยประมาณ 10-15 ปี - หน่วยงาน กทม.จะมีศูนย์พักพิงฯ ที่สามารถดำเนินการรองรับสัตว์จรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดการดำเนินงานล่าช้าจากการร้องเรียนเหตุในพื้นที่ - คนกรุงเทพฯ สามารถรับเลี้ยงสัตว์ใหม่จากสัตว์จรในศูนย์พักพิงของ กทม. และศูนย์พักพิงเครือข่ายที่ผ่านเกณฑ์และมีความพร้อมที่เหมาะสม โดยมีสัตว์ที่มีสุขภาพดี แข็งแรงไม่มีโรค

    3.กทม.จะทำอย่างไร :1. จัดชุดออกปฏิบัติการทำหมันและฉีดวัคซีนเชิงรุกอย่างมียุทธศาสตร์ 2. เปลี่ยนสุนัขจรเป็นสุนัขชุมชน 3. ปรับปรุงศูนย์พักพิงของ กทม. และกำกับดูแลศูนย์ของเอกชนให้มีมาตรฐาน 4. ส่งสัตว์จรกลับสู่สถานะสัตว์เลี้ยง (Adopt Not Shop)

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :จำนวนครั้ง/เดือนในการออกหน่วยสัตวแพทย์เคลื่อนที่ผ่าตัดทำหมันและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าเชิงรุก (ครอบคลุมพื้นที่เขตที่ได้รับการร้องเรียน กรณีต้องการให้ผ่าตัดทำหมันและฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า ร้อยละ 80)

    5.เป้าหมาย :ครั้ง : 12

    6.Action Plan :

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 140 : รักษาสิทธิขั้นพื้นฐานให้คนไร้บ้าน ผ่านการตรวจสอบสิทธิและสวัสดิการ 0 3 1 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 3 โครงการ แล้วเสร็จ : 1 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : // หน่วยงานสนับสนุน

    2.ประชาชนได้อะไร :ประชากรมีความมั่นคงมากขึ้นจากการเข้าถึงสิทธิขั้นพื้นฐานได้

    3.กทม.จะทำอย่างไร :กทม.จะดำเนินการเชิงรุกในการพิสูจน์ตัวตนและออกเอกสารสิทธิ์แก่คนไร้บ้านที่มีสัญชาติไทยและอยู่ในทะเบียนอยู่เดิม ดำเนินการร่วมกับนักสังคมสงเคราะห์และนักจิตวิทยา ควบคู่การออกสำรวจและจัดทำฐานข้อมูลอย่างประจำ เพื่อให้คนไร้บ้านหรือคนจนเมืองกลุ่มเปราะบางที่กลายเป็นคนไร้บ้านสามารถกลับเข้าสู่ระบบหรือใช้ชีวิตแบบปกติได้เร็วที่สุด

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :มีแนวทางบริหารจัดการเรื่อง คนไร้บ้าน (ครอบคลุมประเด็น การเปิดบ้านอุ่นใจ + การได้รับสิทธิสวัสดิการขั้นพื้นฐาน +การฝึกอาชีพหรือมีงานทำ +ฐานข้อมูลคนไร้บ้าน + ห้องพักราคาถูก)

    5.เป้าหมาย :แนวทาง : 1

    6.Action Plan :

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 159 : ส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (creative economy) ผลักดัน Hi-Tech และ Hi-Touch 0 0 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 0 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : สพส. // หน่วยงานสนับสนุน สวท.

    2.ประชาชนได้อะไร :- ร้านค้าและผู้ประกอบการสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจจากความสร้างสรรค์ได้ - ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงสินค้าและบริการที่น่าสนใจมากขึ้น

    3.กทม.จะทำอย่างไร :หนึ่งในหน้าที่ที่ กทม. ควรดำเนินการคือ การกำหนดยุทธศาสตร์ และ ทิศทางในการพัฒนาเศรษฐกิจให้กับเมือง จากสถานการณ์สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนไป การที่คนรุ่นใหม่บางส่วนสร้างงานสร้างอาชีพเอง ดังนั้น กทม. จะตั้งเป้าหมายให้ กรุงเทพฯ เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของภูมิภาค โดย แบ่งรูปแบบของการนำความคิดสร้างสรรค์เข้ามาต่อยอดในกลุ่มอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น 1. อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี (Hi-tech) เช่น อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับ e-sport อุตสาหกรรมการซื้อขายออนไลน์ อุตสาหกรรมซอฟท์แวร์ 2. อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องกับกายภาพ (Hi-touch) เช่น สปา-นวดแผนไทย อาหาร สตรีทฟู้ด ช้อปปิ้งซื้อ-ขายสินค้า (shopping destination) ตลอดจนการแสดง ศิลปวัฒนธรรม และผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น โดย กทม. จะสนับสนุนการดำเนินธุรกิจในมิติต่าง ๆ เช่น - การสนับสนุนบุคลากร ผ่านการส่งเสริมหลักสูตรร่วมกับ สถาบันอุดมศึกษา โรงเรียนฝึกอาชีพ ศูนย์ฝึกอาชีพ - การสนับสนุนผลิตภัณฑ์ตั้งแต่กระบวนการคิด ไปจนถึงกระบวนการจัดจำหน่ายตามแนวทางของผลิตภัณฑ์ Made in Bangkok (MIB) - การปรับปรุงกระบวนการขออนุญาตที่เกี่ยวข้องให้มีความง่ายและสะดวกขึ้นตามแนวคิด Function Base License

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :จำนวนคนที่เข้าร่วมในการพัฒนาศักยภาพการส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์

    5.เป้าหมาย :ราย : 150

    6.Action Plan :เปิดช่องทางการจำหน่ายสินค้าในรูปแบบออนไลน์ คือ Youtube Channel Bangkok Brand และ TIK TOK Bangkok Brand

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 160 : จัดทำแผนยุทธศาสตร์ที่อยู่อาศัย โดยสำนักงานพัฒนาที่อยู่อาศัย 0 0 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 0 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : สพส. // หน่วยงานสนับสนุน สนข.

    2.ประชาชนได้อะไร :- เพิ่มโอกาสการมีที่อยู่อาศัยที่มั่นคงและหลากหลายรูปแบบให้กับคนกรุงเทพฯ - มีการติดตามผลของการดำเนินงานพัฒนาที่อยู่อาศัยที่มั่นคงให้กับคนกรุงเทพฯ ทำให้ประเมินสถานการณ์ด้านที่อยู่อาศัยของคนกรุงเทพฯ ได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น

    3.กทม.จะทำอย่างไร :กทม.โดยสำนักงานพัฒนาที่อยู่อาศัย ควรดำเนินการจัดทำแผนยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาที่อยู่อาศัยให้คนกรุงเทพฯ มีที่อยู่อาศัยที่มั่นคงเพิ่มขึ้น ตามพันธกิจในข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่องสำนักงานพัฒนาที่อยู่อาศัย พ.ศ. 2545 เพื่อรู้ถึงเป้าหมายในการพัฒนาที่อยู่อาศัยในกรุงเทพฯ สำรวจความต้องการที่อยู่อาศัยรูปแบบต่าง ๆ กลุ่มเป้าหมายของความต้องการที่อยู่อาศัยในกรุงเทพฯ ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มผู้มีรายได้น้อย กลุ่มคนที่เพิ่งเริ่มต้น และก้าวเข้ามาสู่ช่วงของการทำงานเป็นครั้งแรก (first jobber) กลุ่มคนวัยทำงานและแรงงาน โดยประสานงานและร่วมมือกับหน่วยงานกลางที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาที่อยู่อาศัย เช่น สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (พอช.) การเคหะแห่งชาติ ในการพัฒนาที่อยู่อาศัยให้คนกรุงเทพฯ มีโอกาสเข้าถึงที่อยู่อาศัยที่มั่นคงเพิ่มมากขึ้น และมีการติดตามผลของการพัฒนาที่อยู่อาศัยในกรุงเทพฯ ให้มีการพัฒนาที่อยู่อาศัยให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ที่ได้จัดทำไว้

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :แผนยุทธศาสตร์ที่อยู่อาศัย

    5.เป้าหมาย :แผน : 1

    6.Action Plan :ปัจจุบันได้จัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาที่อยู่อาศัยของกรุงเทพมหานคร ระยะ 10 ปี (พ.ศ.2566-2575) และแผนปฏิบัติการด้านการพัฒนาที่อยู่อาศัยกรุงเทพมหานคร ระยะ 5 ปี (2566-2570)

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 198 : นำร่องสร้างห้องปั๊มนม-ให้นมในสถานที่ของกทม. 0 0 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 0 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : สนอ. // หน่วยงานสนับสนุน ทุกหน่วยงาน

    2.ประชาชนได้อะไร :-เพื่อให้ประชากรเด็กเติบโตอย่างแข็งแรง -ประชาชนมีต้นทุนในการเลี้ยงลูกน้อยลง และรักษาประสิทธิภาพการทำงานควบคู่กับการเลี้ยงลูก -สร้างสภาพแวดล้อมที่เป็นมิตรกับคนที่มีลูกและเด็กอ่อน-เด็กเล็ก

    3.กทม.จะทำอย่างไร :

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :เป้าหมายมีจำนวนจุดให้บริการห้อง/มุมนมแม่ จากส่วนราชการ โรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร ร้อยละ 60

    5.เป้าหมาย :ร้อยละ : 60

    6.Action Plan :1. กิจกรรมส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในโรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ 2. คลินิกนมแม่ วชิรพยาบาล (ห้องปั๊มนม ทั้งผู้ป่วยในผู้ป่วยนอก บริการปรึกษาปัญหานมแม่ผ่านแอปพลิเคชั่น)

    7.โครงการ/กิจกรรม :

  • 203 : ผู้ว่าฯ เที่ยงคืน สนับสนุนการใช้ชีวิตและเศรษฐกิจกลางคืน 0 1 0 0 0

    ยังไม่รายงาน : 0 โครงการ กำลังดำเนินการ : 1 โครงการ แล้วเสร็จ : 0 โครงการ ยกเลิก : 0 โครงการ ชะลอ : 0 โครงการ
    1.หน่วยงานหลัก : สนท. // หน่วยงานสนับสนุน สนข., สผว.

    2.ประชาชนได้อะไร :ประชาชนที่ทำงานกลางคืน ผู้ใช้บริการ และธุรกิจกลางคืนได้ใช้ชีวิตได้อย่างปลอดภัย การเดินทางช่วงกลางคืนสะดวกและง่ายมากขึ้น ธุรกิจกลางคืนเติบโตสามารถช่วยผลักดันเศรษฐกิจของกรุงเทพฯ ได้ เนื่องจากมีการจ้างงานและมีลูกค้าเพิ่มขึ้น

    3.กทม.จะทำอย่างไร :- ปรับปรุงและเพิ่มไฟส่องสว่างตามทางเท้าหรือถนนในย่านเศรษฐกิจกลางคืนให้ปลอดภัยต่อคนทำงาน ผู้ใช้บริการ และผู้ประกอบการ รวมถึงจัดให้มีเทศกิจดูแลความปลอดภัยและตรวจตราในย่านเศรษฐกิจกลางคืน - นำร่องเดินรถเมล์สายหลักและสายรองจากย่านเศรษฐกิจกลางคืนสู่จุดเปลี่ยนถ่าย (node) หลัก ๆ ในกรุงเทพฯ ให้ครอบคลุมตลอด 24 ชั่วโมง โดยเดินรถทั้งสายหลักและสายรองเพื่อรับ-ส่งคนเข้าและออกจากย่าน เพื่อลดค่าใช้จ่ายของประชาชน - อำนวยความสะดวกในจุดจอดรถแท็กซี่บริเวณย่านธุรกิจกลางคืนเพื่อลดการกีดขวางช่องทางจราจรโดยมีเทศกิจคอยตรวจตรา - ปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพห้องน้ำสาธารณะให้ปลอดภัยและใช้งานได้จริง ไร้ข้อจำกัดเรื่องเวลาให้บริการ

    4.ตัวชี้วัด (KPI) :

    5.เป้าหมาย :ร้อยละ : 100

    6.Action Plan :

    7.โครงการ/กิจกรรม :